Page 66 -
P. 66
ิ
ิ
ั
์
ื
ิ
ิ
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
ของ Lollgen et al. ในปี 1980 พบว่า เม่ออยู่ในนาลึกระดับคอ จะท�าให้แรงต้านการหายใจ
้
�
ึ
สูงข้น นอกจากนี้ยังพบว่า ปริมาตรเลือดท่เส้นเลือดฝอยบริเวณปอด เพิ่มข้น 70% เน่องจาก
ื
ึ
ี
แรงดันน�้าที่มีต่อร่างกายส่วนล่าง ท�าให้เลือดไหลเวียนกลับสู่ทรวงอกมากขึ้น
3.2 การตอบสนองของระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด
การตอบสนองของระบบหัวใจและหลอดเลือดเมื่ออยู่ในน�้า จะศึกษาเกี่ยวกับ
ั
ปริมาตรเลือดท่ถูกบีบออกจากหัวใจ 1 คร้ง (Stroke Volume; SV) อัตราการเต้นของหัวใจ (Heart
ี
ี
Rate; HR) และปริมาตรเลือดท่ถูกบีบออกจากหัวใจภายใน 1 นาที (Cardiac Output ; Q)
โดยแต่ละตัวแปร มีข้อมูลจากการศึกษา ดังนี้
ี
ั
3.2.1 ปริมาตรเลือดท่ถูกบีบออกจากหัวใจ 1 คร้ง (Stroke Volume ; SV)
เมื่ออยู่ในน�้า SV จะเพิ่มขึ้นจากบนบก ประมาณ 35% ทั้งนี้เนื่องจากแรงดันน�้าท�าให้เลือดไหลเข้า
ี
ึ
สู่บริเวณทรวงอกมากข้น ประมาณ 700 มิลลิลิตร โดย 1 ใน 4 ของเลือดท่อยู่บริเวณทรวงอก
ั
จะกระจายไปยงหองหวใจ นอกจากนีการประเมนขนาดของหวใจพบวาปรมาตรหวใจเพ่มขน มีคา
้
ิ
้
ิ
่
ั
ึ
ิ
่
ั
ั
้
อยู่ระหว่าง 180 – 247 มิลลิลิตร (Park et.al, 1999) ซึ่งส่งผลให้แรงดันของหัวใจห้องบนขวา
ิ
เพ่มข้น 12-18 mm/Hg. (Reilly, 2003) รวมถึงแรงต้านทานการไหลของเลือดบริเวณส่วนล่าง
ึ
ี
ิ
ึ
ี
ี
้
ของร่างกายลดลง นอกจากน การเปล่ยนแปลง SV ท่เพ่มข้น ยังแปรผันตามระดับความลึกของนา
�
้
จากงานวิจัยของ Farhi และ Linnarson (1997) ที่พบว่า SV มีค่าเท่ากับ 78 + 2.3, 110 + 2.4
และ 120 + 2.5 มิลลิลิตร/ครั้ง เมื่ออยู่ในน�้าลึกระดับสะโพก ลิ้นปี่ และคาง ตามล�าดับ
3.2.2 อัตราการเต้นหัวใจ (Heart Rate; HR) เมื่อแช่อยู่ในน�้าระดับสะโพก
ถึงระดับลิ้นปี่ อัตราการเต้นหัวใจจะต�่ากว่าบนบก ประมาณ 3-17 ครั้ง/นาที (Brody and Geigle,
ี
2009) และมีการเปล่ยนแปลงตามระดับความลึกของนาเช่นเดียวกันกับตัวแปรอ่นๆ แต่ก็มีบาง
้
ื
�
กรณีที่การตอบสนองอาจจะไม่แปรผันตามความลึกของน�้าเสมอไป จากการศึกษาของ Farhi และ
Linnarson (1997) พบว่า เมื่ออยู่ในน�้าลึกระดับสะโพกและลิ้นปี่ อัตราการเต้นของหัวใจจะลดต�่า
ลงกว่าอยู่บนบก แต่เมื่อความลึกของน�้าสูงขึ้นถึงระดับคาง กลับพบว่า อัตราการเต้นหัวใจจะเพิ่ม
ึ
้
ี
ิ
�
สูงข้น โดยมีเหตุผลอธิบายได้ว่า ความลึกของนาท่ระดับสะโพกและล้นปี่ จะกระตุ้น Baroreceptor
ี
�
่
ให้ส่งข้อมูลไปควบคุมให้อัตราการเต้นหัวใจลดตาลง ส่วนท่ความลึกระดับคาง Atrial Stretch
Receptor จะมีบทบาทในการควบคุมมากกว่า จึงทาให้อัตราการเต้นของหัวใจสูงข้น แสดงให้
ึ
�
เห็นว่าการตอบสนองของอัตราการเต้นของหัวใจเม่อร่างกายอยู่ในนา ไม่สามารถสรุปว่าจะมีค่า
้
�
ื
สูงขึ้นหรือลดลงด้วย ปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งเพียงปัจจัยเดียวได้
การออกก�าลังกาย 59