Page 68 -
P. 68
ิ
ิ
ุ
ั
ิ
ื
์
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ควมแข็งแรง ความสมดุล ความยืดหยุ่น และกระตุ้นตัวรับรู้ต�าแหน่งข้อในการเคลื่อนไหวหรือการ
รับรู้อากัปกิริยา (Proprioception) ตลอดจนมีการกระตุ้น Sensory awareness, Autonomic
response, Readiness ในการควบคุมการท�างานของกล้ามเนื้อ ในการหดตัวของกล้ามเนื้อเพื่อ
ให้เกิดการเคลื่อนไหวของร่างกาย กล้ามเนื้อจะมีการหดตัวทั้งแบบ concentric และ eccentric
ซึ่งการหดตัวแบบ eccentric มักจะก่อให้เกิดบากเจ็บของกล้ามเนื้อ เช่นการงอแขนบนบก ขณะ
งอข้อศอกกล้ามเนื้อBicep จะหดตัวแบบ concentric (ความยาวของกล้ามเนื้อหดสั้นเข้า) และ
ื
ื
ขณะเหยียดแขนออกกล้ามเน้อBicep จะหดตัวแบบ eccentric (ความยาวของกล้ามเน้อถูกยืด
ี
ื
�
ื
�
้
ออก) ทั้งน้เน่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก แต่สาหรับการงอแขนในนากล้ามเน้อ Bicep จะหดตัว
ื
แบบ concentric เพ่องอข้อศอก และในการเหยียดแขนออกกล้ามเน้อ triceps จะหดตัวแบบ
ื
�
�
้
ี
ั
้
concentric ท้งน้เนื่องจากในนาไม่มีผลกระทบของแรงโน้มถ่วงของโลก และแรงลอยตัวในนา
้
�
�
�
ื
ั
ี
ดังน้นการออกกาลังกายในนาจะเกิดการทางานของกล้ามเน้อสองมัดคู่กันไป นอกจากน้จากการ
�
�
ศึกษาของ Wilcock, Cronin, and Hing (2006) แนะนาให้ออกกาลังกายในนาภายหลังการแข่งขัน
้
�
กีฬาและการฝึก เนื่องจากเมื่อร่างกายอยู่ในน�้าที่อุณหภูมิประมาณ 30 องศาเซสเซียส กล้ามเนื้อ
จะมีการผ่อนคลายได้ดี และทุกๆ ความลึก 30 เซนติเมตร น�้าจะมีแรงดันต่อร่างกาย เพิ่มขึ้น 22.4
�
ี
มิลลิเมตรปรอท (Epstein, 1976) ประกอบกับแรงลอยตัวของนา จะท�าให้ลดสภาวะปวดท่เกิด
้
จากการบาดเจ็บและการอักเสบ
ได้ดีขึ้น
นอกจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวแล้ว ยังมีการเปลี่ยนแปลงในอัตราการเผาผลาญ
พลังงานของร่างกาย ที่สามารถตรวจสอบได้จากค่า Respiratory Exchange Ratio (RER) ซึ่งได้
จากการหาปริมาณของ CO ที่เกิดขึ้น หารด้วยปริมาณ O ที่ถูกใช้ไป ค่าที่ได้นี้ จะท�าให้ทราบว่า
2 2
ี
ขณะน้ร่างกายใช้พลังในระบบใด และสารอาหารใดเป็นแหล่งพลังงาน จากข้อมูลการวิจัยพบว่า
เมื่ออยู่บนบกจะมีค่า RER เท่ากับ 0.85 แต่เมื่ออยู่ในน�้าค่า RER จะเท่ากับ 0.93 แสดงว่า เมื่ออยู่
ในน�้าร่างกายมีการเผาผลาญพลังงานจากคาร์โบไฮเดรตมากกว่า และ Derion et al. (1992) ยัง
ได้อธิบายว่าการออกก�าลังกายในน�้า มีแนวโน้มการเผาผลาญพลังงานเปลี่ยนจากระบบออกซิเจน
ี
ึ
(Aerobic System) มาเป็นระบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic System) มากข้น จากการท่ปริมาตร
้
ี
ื
่
ี
เลอดทอวยวะส่วนล่างลดลง แต่การเปล่ยนแปลงดังกล่าวเป็นการเปลยนแปลงเพียงเล็กน้อยเท่านน
ั
ี
ั
่
4. กายวิภาคศาสตร์และการเคลื่อนไหว
เนื่องจากร่างกายคนเราประกอบขึ้นด้วยอวัยวะส่วนต่าง ๆ หลายส่วน โดยมีกระดูก
ี
�
ทาหน้าท่เป็นโครงร่าง และอาศัยข้อต่อเป็นท่ยึดโยงประกอบกัน ข้อต่อต่างๆ น้เองท่ทาให้ร่างกาย
ี
�
ี
ี
คนเราสามารถเคลื่อนไหวได้มากบ้าง น้อยบ้าง หรือไม่ได้เลย แล้วแต่สภาพของข้อต่อนั้นๆ ในการ
การออกก�าลังกาย 61