Page 67 -
P. 67

ุ
                                     ิ
                                           ิ
                                        ์
                           ิ
                        ื
                                                                       ั
                                                       ิ
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                             3.2.3  ปริมาตรเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจใน 1 นาที (Cardiac Output;
            Q) จะเพิ่มขึ้นประมาณ 30-35% เมื่ออยู่ในน�้าขณะพัก (Park et.al, 1999) เนื่องจาก SV ที่เพิ่ม
                                                          ้
                                                               ิ
            ข้น นอกจากน้ยังมีการผันแปรตามระดับความลึกของนาท่เพ่มข้น โดยแยกความลึกของนาเป็น
                                                                 ึ
              ึ
                                                                                       �
                         ี
                                                             ี
                                                          �
                                                                                       ้
            3 ระดับ คือ 1) ความลึกของน�้าระดับสะโพก จะท�าให้ Q เพิ่มขึ้นประมาณ 10-15 %  ส่วนอัตรา
                                    ื
                 ้
                        ั
                                                                          ิ
                                                                                    ี
                                                                                    ่
                                                 ึ
                                                 ้
                                               ิ
                                                                                ื
                                    ่
            การเตนของหวใจจะลดลง เนองจากการเพมขนของ Atrial pressure และปรมาตรเลอดททรวงอก
                                               ่
            ส่งผลให้ SV เพิ่มขึ้น 2) ความลึกของน�้าระดับลิ้นปี่ จะส่งผลให้มีแรงดันน�้ามากระท�าที่บริเวณท้อง
            เพิ่มมากขึ้น ท�าให้เลือดไหลกลับสู่ทรวงอกมากขึ้น ส่งผลให้ SV เพิ่มสูงขึ้น ท�าให้ค่า Q มากตาม
                           �
                           ้
            3) ความลึกของนาท่ระดับคาง  จะมีผลต่อการเพ่ม Atrial pressure ท่สูงข้นมากกว่าความลึก
                                                      ิ
                                                                        ี
                                                                            ึ
                             ี
                                         ึ
                             ี
                   ั
                 ้
                 �
            ของนาท้ง 2 ระดับท่กล่าวมาแล้ว ซ่งจะไปกระตุ้น Atrial Stretch Receptor และส่งผลให้ทั้งอัตรา
            การเต้นหัวใจและปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจภายหลังการบีบตัว 1 ครั้ง มีค่าสูงขึ้น
                       3.3  การตอบสนองของไต
                                                                            ้
                                                                                     ี
                                                                            �
                                                 �
                                                 ้
                             หลักการทางฟิสิกส์ของนา ในเร่องคุณสมบัติแรงดันของนาในขณะท่ร่างกาย
                                                       ื
                                                                 ิ
            แช่อยู่ เลือดจากบริเวณส่วนล่างของร่างกาย โดยเฉพาะอย่างย่งส่วนขา จะไหลกลับเข้าสู่หัวใจ
            ได้ดีข้น ซ่งช่วยลดสภาวะบวมของร่างกายส่วนล่างได้ และการทางานของไต ซ่งถูกควบคุมโดยระบบ
                 ึ
                    ึ
                                                               �
                                                                          ึ
                                                               ั
                                                    ้
                                                    �
            ประสาทและฮอร์โมน ในขณะท่ร่างกายแช่อยู่ในนาจะมีการหล่งฮอร์โมน Antidiuretic Hormone
                                      ี
                                                     ึ
            (ADH) ลดลง จึงทาให้การขับปัสสาวะเพ่มมากข้น และระบบฮอร์โมน Renin-Angiotensin-
                            �
                                               ิ
                                                                ิ
                                                            ี
                                �
                                                                      ึ
            Aldosterone ลดลง ทาให้มีการขับโซเด่ยมและโปรตัสเซ่ยมเพ่มมากข้น (Brody and Geigle,
                                              ี
            2009)
                        3.4  การตอบสนองของประสาท กล้ามเนื้อ ข้อต่อและกระดูก
                                                             ื
                                                                                ู
                                                                  ิ
                             เป็นททราบกนดว่าการออกกาลงกายเพอเสรมสร้างมวลกระดก จะต้องเป็น
                                                             ่
                                          ี
                                                       ั
                                 ี
                                                     �
                                       ั
                                 ่
            การออกก�าลังกายที่ข้อต่อมีการรับน�้าหนัก (Weight bearing) เช่น การเดิน การวิ่ง จากการศึกษา
              ื
            เม่อเร็วๆ น พบว่าการออกกาลังกายในนาก็สามารถเพ่มมวลกระดูกได้เช่นเดียวกัน Ay and
                                     �
                      ี
                                                           ิ
                                                �
                                                ้
                      ้
            Yurtkuran (2005) ได้ท�าการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการเต้นแอโรบิกในน�้ากับบนบก ที่ความ
            หนักตามมาตรวัดความเหน่อย (Rating of Perceived Exertion, RPE) 10-13 สเกล 6-20 จานวน
                                                                                      �
                                   ื
            3 วันต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 6 เดือน พบว่า มีการเปล่ยนแปลงของมวลกระดูก +3.1% +4.2%
                                                         ี
                                                                                    ั
                                                ้
                                                �
                               ี
            และ -1.3% ในกลุ่มท่การเต้นแอโรบิกในนา บนบก และกลุ่มควบคุม ตามล�าดับ ดังน้นจะเห็น
            ได้ว่าการเดิน การกระโดด การเคลื่อนไหวในน�้าในรูปแบบต่างๆ สามารถกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา
            ของมวลกระดูกได้เช่นกัน
                                                                                    �
                                                           ื
                                                        ื
                              �
                             สาหรับปัญหาการบาดเจ็บของเน้อเย่อต่างๆ ในร่างกาย การออกกาลังกาย
            ในน�้าโดยคุณสมบัติของแรงดันน�้าจะช่วยลดอาการเจ็บ บวม ของข้อต่อและกล้ามเนื้อ และยังเพิ่ม
            60 การออกก�าลังกาย
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72