Page 65 -
P. 65

ั
                                           ิ
                                                                                ุ
                                                       ิ
                           ิ
                        ื
                                     ิ
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                        ์
                    ส�าหรับการออกก�าลังกายในน�้า ร่างกายจะใช้พลังงานทั้ง 3 ระบบผสมผสานกัน ทั้งนี้ขึ้น
            อยู่กับระยะเวลา และความหนักของการออกก�าลังกายเหมือนกันกับการออกก�าลังกายบนบก

                     3.  การตอบสนองทางสรีรวิทยาขณะอยู่ในน�้า

                       3.1  การตอบสนองของระบบหายใจ

                                      ้
                                      �
                             เม่ออยู่ในนาขณะพัก การตอบสนองของการหายใจจะมีความแตกต่างจาก
                               ื
            อยู่บนบก ทั้งนี้เนื่องจากแรงดันของน�้าที่อยู่รอบตัว จะท�าให้การไหลเวียนโลหิตจากส่วนล่างเข้าสู่
                                                                             ิ
            ส่วนกลางของร่างกายได้ดข้น ปรมาตรของเลือดจากส่วนต่างๆ จะมารวมอยู่บรเวณทรวงอกมาก
                                        ิ
                                  ี
                                   ึ
            ขึ้น และส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของปอดและการหายใจ เมื่ออยู่ในน�้าที่ความลึกระดับ
            ต่างๆ กันเทียบกับบนบก โดยสรุปได้ ดังนี้
                             3.1.1  ที่ความลึกของน�้าระดับอกหรือลิ้นปี่

                                                                   �
                                   Agostoni et al. (1966) เป็นคนแรกท่ทาการศึกษาการตอบสนองของ
                                                                  ี
                                                                   ี
                       ื
                              ้
                              �
                                               ้
                                               ี
            การหายใจเม่ออยู่ในนาท่มีความลึกระดับน พบว่า ปริมาตรอากาศท่ตกค้างอยู่ในปอดหลังจากการ
                                ี
            หายใจออกเต็มท หรือ ปริมาตรตกค้าง (Residual Volume; RV) ลดลง นอกจากน้ยังพบว่าปริมาตร
                          ี
                                                                             ี
                          ่
                       �
            หายใจออกสารอง (Expiratory Reserve Volume; ERV) และความจุปอดตกค้าง (Function
                                                        ี
            Residual Capacity ; FRC) ก็ลดลงเช่นเดียวกัน โดยท่เม่ออยู่บนบก ERV และ FRC มีค่า ประมาณ
                                                          ื
            1,870 และ 3,530 มิลลิลิตร แต่อยู่ในน�้าจะมีค่าประมาณ 510 และ 1,900 มิลลิลิตร ตามล�าดับ
                             3.1.2  ที่ความลึกของน�้าระดับคอ
                                   จากการศึกษาของ Hong et al.(1969) พบว่าความลึกของน�้าระดับ
            คอ มีผลต่อปริมาตรหายใจออกส�ารอง (Expiratory Reserve Volume; ERV) ความจุปอดปกติ
            (Vital Capacity ; VC) และความจุปอดตกค้าง (Function Residual Capacity ; FRC) ลดลง
            ประมาณ 1,150, 360 และ 400 มิลลิลิตร ตามล�าดับ แต่ไม่พบความแตกต่างของ ปริมาตรหายใจ
            เข้า (Tidal Volume ;V ) เมื่อเปรียบเทียบกับความลึกของน�้าระดับอก (Agostoni et al., 1966)
                                T
                                             ี
                                                          ึ
                                                      ี
                                   จากการเปล่ยนแปลงท่เกิดข้นกับปริมาตรหายใจออกสารอง ความจุ
                                                                                �
                                                                ้
                    ิ
                                                                   ี
            ปอดปกต และความจุปอดตกค้าง แสดงให้เห็นว่า การอยู่ในนาท่มีความลึกจะมีผลต่อการตอบ
                                                                �
                                                                   �
                                                           ้
                                                                                       ิ
                                                                                          ึ
                                                              ี
                                        ี
                                      ั
                               ี
                                          ื
                                                           �
            สนองของการหายใจท่ลดลง ท้งน้เน่องมาจากแรงดันใต้นาท่กระทากับทรวงอก และการเพ่มข้น
            ของปริมาตรเลือดภายในทรวงอก การต้านทานการไหลของอากาศเข้าสู่ปอด (Pulmonary Flow
            Resistance)  ความต้านทานของปอดส่วนใหญ่จะอยู่ท่ทางเดินหายใจส่วนล่าง ได้แก่ หลอดลมเล็ก
                                                        ี
            และหลอดลมฝอย โดยท่ความต้านทานการไหลของอากาศจะมีค่าสูงข้น เม่อปริมาตรปอดลดลง
                                                                          ื
                                 ี
                                                                      ึ
            ในขณะท่กล้ามเน้อหน้าท้องและกล้ามเน้อระหว่างช่องกระดูกซ่โครงมีการหดตัว จากการศึกษา
                                                                 ี
                                              ื
                           ื
                    ี
            58 การออกก�าลังกาย
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70