Page 62 -
P. 62

ุ
                                           ิ
                                                                       ั
                                                       ิ
                                        ์
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                        ื
                                     ิ
                           ิ
                                                   บทที่ 4
                      การตอบสนองทางสรีรวิทยา และการเคลื่อนไหวร่างกายในน�้า



                                                                             �
                                           �
                        สรีรวิทยาของการออกกาลังกาย เป็นการศึกษาการตอบสนองการทางานของระบบต่างๆ
               ในร่างกายขณะออกก�าลังกายหรือเล่นกีฬา (Acute response)  และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
                                                                                     ี
                                    �
               ภายหลังการฝึกเป็นประจาอย่างสมาเสมอ (Chronic Adaptations) สาหรับในบทน้จะกล่าวถึง
                                            �
                                                                          �
                                            ่
                                   �
                                                                       �
                                                                  ี
                                                    �
               สรีรวิทยาของการออกกาลังกายโดยย่อ เพ่อทาให้ผู้ฝึกสอน ผู้ท่ออกกาลังกาย และนักกีฬา มีความ
                                                 ื
                                                 ึ
                                          ี
                                 ี
                      ี
               เข้าใจเก่ยวกับการเปล่ยนแปลงท่จะเกิดข้นกับร่างกาย และช่วยในการออกแบบโปรแกรมการฝึก
                                 ้
                                 �
                                                     ึ
                                                                            ื
               การออกกาลังกายในนาให้มีประสิทธิภาพมากข้น ตลอดจนการใช้อุปกรณ์เพ่อช่วยให้การออกกาลัง
                                                                                           �
                       �
               กายในน�้ามีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น

                        1.  หลักการทางสรีรวิทยา
                          หลักการทางสรีรวิทยา (Physiological Principles) ผู้ฝึกสอนมีความจาเป็นท่จะ
                                                                                      �
                                                                                            ี
               ต้องเข้าใจหลักการทางสรีรวิทยา ส�าหรับใช้ในการออกแบบโปรแกรมและติดตามความก้าวหน้า
               ของการออกกาลังกาย หลักการน้จะช่วยให้ผู้ท่ออกกาลังกายและนักกีฬาทราบถึงการเปล่ยนแปลง
                                                    ี
                                          ี
                           �
                                                                                       ี
                                                         �
                                               ื
                                                  ี
               และการพัฒนาท่เกิดข้นกับร่างกาย เพ่อท่จะได้ปรับปรุงความสามารถและพัฒนาศักยภาพของ
                             ี
                                  ึ
                                                                       ี
                                                         �
                                                         ้
               ตนเองให้ดีข้น หากผู้ฝึกสอนการออกกาลังกายในนามีองค์ความรู้เก่ยวกับหลักการทางสรีรวิทยา
                         ึ
                                               �
                                                        �
                                                                                       ึ
                                                                  �
                                                                  ้
               ก็จะช่วยให้สามารถออกแบบโปรแกรมการออกกาลังกายในนาให้มีประสิทธิภาพมากข้น และม    ี
               ความเหมาะสมกับแต่ละบุคคลได้เป็นอย่างดี
                           1.1 หลักของความหนักในการฝึกมากกว่าปกติ (Overload Principle) การที่
                                                                       ึ
                                                                     ิ
                                              ี
                                                                               ื
               ร่างกายจะเกิดการพัฒนาหรือการเปล่ยนแปลงท่มีความก้าวหน้าเพ่มข้น ก็ต่อเม่อมีการฝึกหรือการ
                                                      ี
                                    ี
                                                                            �
                                                                                  ื
                                                ี
                 �
               ทางานโดยใช้ความหนักท่มากกว่าปกติท่ร่างกายเคยปฏิบัติอยู่ในชีวิตประจาวัน เพ่อกระตุ้นให้เกิด
                                                   �
               การเปล่ยนแปลงและพัฒนาข้น ในการออกกาลังกายจะถูกกาหนดเป็นโปรแกรมด้วยองค์ประกอบ
                      ี
                                       ึ
                                                                �
               ที่เรียกว่า FITT ซึ่งย่อมาจาก ความถี่ (Frequency) ความหนัก (Intensity) ระยะเวลา (Time)
               ของการฝึกซ้อม และประเภทของการออกก�าลังกาย (Type) ผู้ฝึกสอนจะต้องน�าเอาหลักการเหล่า
               นี้ไปใช้ ส�าหรับการออกแบบโปรแกรมให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคล
                          1.2 หลักของความก้าวหน้าในการฝึก (Progressive Principle) จากการน�าเอา
               หลักของความหนักในการฝึกมากกว่าปกติมาจัดโปรแกรมการออกกาลังกายหรือเล่นกีฬา ดังได้
                                                                       �
               กล่าวไปแล้ว เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสมรรถภาพและการท�างานของร่างกาย ผู้ฝึกสอนจะ
                                                                          การออกก�าลังกาย   55
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67