Page 64 -
P. 64
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
การเก็บ ATP ไว้ได้ไม่มากนัก เม่อร่างกายมีการใช้ก็จะหมดไปในเวลาอันรวดเร็ว พลังงานท่ได้
ื
ี
ี
้
ั
จากระบบฟอสฟาเจนน จะใช้ในกิจกรรมท่มีการใช้พลังและความเร็วสูง ในระยะเวลาส้นมาก
ี
ประมาณ 10 วินาที
2.2 ระบบแอนแอโรบิก ไกลโคไลซิส (Anaerobic Glycolysis) หรือ ระบบกรด
แล็กติก (Lactic acid System) เป็นกระบวนการเผาผลาญไกลโคเจนที่สะสมในกล้ามเนื้อ หรือ
กลูโคสในกระแสเลือดโดยไม่ใช้ออกซิเจน ท�าให้เกิด กรดแล็กติก ซึ่งจะไปท�าให้เกิดความล้าของ
้
ั
ี
ี
ื
กล้ามเน้อ พลังงานจากระบบน จะใช้ในกิจกรรมท่ต้องออกแรงมากๆ ในระยะเวลาส้นๆ (10 วินาท ี
ถึง 2 นาที) หรือในช่วงเริ่มต้น 1-3 นาทีแรกของการออกก�าลังกาย
2.3 ระบบแอโรบิก (Aerobic System) หรือ ระบบออกซิเจน (Oxygen System)
เป็นกระบวนการเผาผลาญไกลโคเจน ไขมัน หรือโปรตีน โดยใช้ออกซิเจน ผลผลิตท่ได้คือ พลังงาน
ี
้
เอทีพ (ATP) คาร์บอนไดออกไซด์ และนา กระบวนการน้มีความซับซ้อน และต้องใช้ออกซิเจน
ี
ี
�
�
จานวนมาก พลังงานท่ได้จะใช้ในกิจกรรมท่ออกแรงน้อยถึงปานกลาง ในระยะเวลาท่มากกว่า
ี
ี
ี
2 นาทีขึ้นไป
ในขณะออกก�าลังกาย ร่างกายจะใช้พลังงานทั้ง 3 ระบบ ขึ้นอยู่กับระยะเวลา และความ
หนักของการออกก�าลังกาย ดังตัวอย่างที่ แสดงในรูปที่ 4.1 เป็นการใช้พลังงานจากทั้ง 3 ระบบใน
การออกก�าลังกายปานกลาง เป็นระยะเวลานาน
รูปที่ 4.1 ความสัมพันธ์ของการใช้พลังงานระบบฟอสฟาเจน แอนแอโรบิกไกลโคไลซิส และ
แอโรบิก (ที่มา: AEA, 2018)
การออกก�าลังกาย 57