Page 69 -
P. 69
ิ
ั
ิ
ิ
์
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
ุ
ิ
ื
ี
วิเคราะห์การเคล่อนไหวร่างกาย จะต้องทาในท่ายืนท่อยู่ในท่ากายวิภาค (Anatomical Position)
�
คือ ท่ายืนตรง เท้าท้งสองข้างขนานชิดกัน หรือแยกออกจากกันเล็กน้อย แขนท้งสองข้าง
ั
ั
�
เหยียดตรงห้อยอยู่แนบข้างลาตัว ฝ่ามือหันไปด้านหน้า และตาทั้งสองข้างมองตรงไปข้างหน้า
(ดังรูปที่ 4.2)
รูปที่ 4.2 การยืนในท่ากายวิภาค
ที่มา: AEA, 2018
ื
ื
้
ี
กายวิภาคศาสตร์และการเคล่อนไหวในบทน จะกล่าวถึงการเคล่อนไหวของส่วนต่างๆ
ท่สาคัญของร่างกาย เพ่อให้รู้และเข้าใจการเคล่อนไหวของข้อต่อและกล้ามเน้อ สาหรับนาไปใช้
ื
�
ี
�
ื
�
ื
�
้
�
ในการออกแบบท่าทางการออกกาลังกายในนา ทาให้ผู้ฝึกสอนสามารถออกแบบโปรแกรม
�
การออกก�าลังกายในน�้าได้ตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ต้องการฝึก
4.1 ค�าศัพท์ที่ใช้ในการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
1. การงอ (Flexion) เป็นการลดมุมของข้อต่อระหว่างกระดูก 2 ชิ้น เช่น การงอ
ข้อศอก การงอเข่า การงอล�าตัว เป็นต้น (กรณีข้อเท้า จะใช้คาว่า Plantar flexion คือ
�
การเคลื่อนไหวที่งอข้อเท้า ท�าให้ปลายเท้าชี้ลง)
62 การออกก�าลังกาย