Page 74 -
P. 74

ิ
                                                                                ุ
                                     ิ
                                        ์
                                           ิ
                           ิ
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                        ื
                                                                       ั

















                 รูปที่ 4.7 ท่าทางการเคลื่อนไหวฝ่าเท้า แบบ Inversion และ Eversion (ที่มา: Lynn, 2006)



                                           �
                        4.2  ลักษณะและข้อจากัดของการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
                             ในการเคล่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายแต่ละส่วนนั้น มีลักษณะและข้อจ�ากัด
                                      ื
               ในการเคลื่อนไหวที่สามารถท�าได้มากน้อยแตกต่างกันไป (Lynn, 2006) ดังนี้

                             1.  การเคลื่อนไหวของศรีษะและคอ (Head and Neck)
                               มีการเคลื่อนไหวได้หลายแบบ เช่น การเคลื่อนไหวของข้อต่อ Atlanto-oc-

               cipital joint ที่อยู่ระหว่างฐานกระโหลกศรีษะกับกระดูกสันหลังส่วนคอชิ้นที่ 1 (Atlas) สามารถ
               เคลื่อนไหวได้หลากหลาย ทั้งแบบการงอ การเหยียด การเหยียดเกินตาแหน่งปกติ การกางออก
                                                                         �
               การหุบหรือการงอออกไปทางด้านข้าง ส่วนการเคลื่อนไหวของข้อต่อ Atlanto-axial joint ที่อยู่
               ระหว่างกระดูกสันหลังบริเวณคอชิ้นที่ 1 กับชิ้นที่ 2 (Axis) ช่วยในการหมุนคอ และข้อต่อ Tem-
                                             ี
               poro-mandibular joint เป็นข้อต่อท่ช่วยในการเคล่อนไหวของฟันกรามบนและกรามล่าง เป็นการ
                                                         ื
               เคลื่อนไหวแบบผสมระหว่าง Grinding forward และ Rotate ที่เหมือนบานพับ เป็นต้น

                             2.  การเคลื่อนไหวส่วนลาตัว (Axial skeleton)
                                                  �
                               เป็นการเคลื่อนไหวที่บริเวณกระดูกสันหลัง (Vertebral column) ซึ่งมีการ

                                                    ่
                                                    ี
                                                        �
                                                                                  ี
                                                                         ี
               เคลอนไหวได้หลายแบบ คอ มการงอ การงอทเกินตาแหน่งปกต การเหยยด การเหยยดเกินตาแหน   ่
                                                                                         �
                  ่
                                       ี
                                                                  ิ
                  ื
                                    ื
                             �
               งปกติ การเอียงลาตัวไปด้านข้างและการบิดลาตัวไปทางซ้ายหรือทางขวา
                                                    �
                             3.  การเคลื่อนไหวของหัวไหล่ (Shoulder girdle)
                               มีการเคล่อนไหวได้รอบแกนการเคล่อนไหว ท้ง 3 แกน เช่น การงอ การเหยียด
                                                             ื
                                                                     ั
                                        ื
               การกางหรือบิดเข้าด้านใน การบิดออกด้านนอก การยกไหล่ขึ้น-ลง การหมุนเป็นวงกลม การหมุน
               และเอียงไหล่ขึ้น เป็นต้น
                                                                          การออกก�าลังกาย   67
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79