Page 75 -
P. 75

ิ
                                                       ิ
                                                                       ั
                                        ์
                        ื
                           ิ
                                     ิ
                                                                                ุ
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                          4.  การเคลื่อนไหวของข้อศอก (Elbow joint)
                            เป็นการเคลื่อนไหวที่มีลักษณะของการงอ และการเหยียด เท่านั้น
                          5.  การเคลื่อนไหวของส่วนปลายแขน (Radio-ulnar joint)

                            เป็นการเคล่อนไหวท่เกิดข้นกับข้อต่อแบบ Pivot joint ท่สามารถเคล่อนไหว
                                       ื
                                                   ึ
                                                                           ี
                                                                                     ื
                                              ี
                ั
                                                                          �
                                                                          ่
            ได้ท้งแบบ Pronation (การหมุนแขนท่อนล่างเข้าด้านใน โดยการควาฝ่ามือลง) กับแบบ
            Supination (การหมุนแขนท่อนล่างออกด้านนอก โดยหงายฝ่ามือขึ้น) ซึ่งเป็นทิศทางตรงกันข้าม
            กับ Pronation
                                    ื
                          6.  การเคล่อนไหวของมือและข้อมือ (Wrist joint and Carpo-metacarpal
            joint)
                            การเคลื่อนไหวของข้อมือมีทั้ง การงอ การเหยียด การกางออก และการหุบ
            เข้า และที่นิ้วหัวแม่มือมีการเคลื่อนไหวได้ทั้งแบบการกางออก การหุบเข้า การงอ การเหยียด และ

            การหุบเข้าเกินกว่าปกติ การงอเกินกว่าปกติ และการงอตรงกันข้าม

                          7.  การเคลื่อนไหวของสะโพก (Hip joint)

                            คล้ายกับการเคลื่อนไหวของหัวไหล่ คือ มีความเป็นอิสระคล้ายกัน สามารถ
            จะเคลื่อนไหวได้หลายแบบ มีทั้งการงอ การเหยียด การกางออก การหุบเข้า การหมุนหรือบิดเข้า
            ด้านใน การเหยียดเกินกว่าปกติ หรือการหมุนเป็นวงกลม

                          8.  การเคลื่อนไหวของหัวเข่า (Knee joint)

                            เหมือนกับการเคลื่อนไหวของข้อศอก ที่มีแค่ การงอและการเหยียด เท่านั้น

                          9.  การเคลื่อนไหวของเท้า (Foot movement)

                                                                             ี
                                               ื
                                                                                     ื
                            ประกอบด้วยการเคล่อนไหวของข้อเท้า (Ankle joint) ท่มีการเคล่อนไหว
                                                                                       ิ
                                                                 ื
                                                     ึ
            แบบการงอ หรือ การกดฝ่าเท้าลง การยกหลังเท้าข้น และการเคล่อนไหวระหว่าง ฝ่าเท้ากับน้วเท้า
            (Metatarsophalangeal joint) ซึ่งมี การงอ และการเหยียด รวมทั้งการเคลื่อนไหวของ Inter-
            tarsal joint ที่เป็นการยกฝ่าเท้าออกด้านนอก (Eversion) หรือการตะแคงฝ่าเท้าออกด้านนอก
                     4.3  กล้ามเนื้อกับการเคลื่อนไหว

                          ร่างกายของมนุษย์ประกอบไปด้วยกล้ามเน้อหลายร้อยมัด การเคล่อนไหวของ
                                                                                  ื
                                                              ื
                                                  ื
                             �
                                                                                �
            ร่างกายจะเป็นการทางานร่วมกันของกล้ามเน้อหลายมัดประสานสัมพันธ์กัน การทางานจะอยู่ใน
            อ�านาจจิตใจ ซึ่งควบคุมโดยระบบประสาท Somatic Nervous System การเคลื่อนไหวโดยทั่วไป
            จะมีกล้ามเนื้อที่ท�าหน้าที่ต่างๆ กัน ดังนี้



            68 การออกก�าลังกาย
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80