Page 63 -
P. 63

์
                                     ิ
                                                                                ุ
                                                                       ั
                                                       ิ
                                           ิ
                        ื
                           ิ
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                     �
            ต้องรู้จักนาเอา “หลกของความก้าวหน้าในการฝึก” มาใช้ควบคู่กันไปด้วย เพราะเม่อมีการออก
                                                                                  ื
                             ั
                                                                          ี
              �
                                      �
                                                      ึ
            กาลังกายหรือฝึกซ้อมเป็นประจาไปสักระยะเวลาหน่ง ร่างกายจะเกิดการเปล่ยนแปลง (Adaption)
            หากไม่มีการปรับโปรแกรม ทั้งความถี่ ความหนัก ระยะเวลา และประเภทของการฝึก ก็จะท�าให้
            โปรแกรมนั้น มีประสิทธิภาพลดลง แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าผู้ฝึกสอนมีการปรับโปรแกรมเร็วเกิน
            ไป อาจจะท�าให้เกิดการบาดเจ็บ และโปรแกรมการฝึกล้มเหลวได้ จึงต้องพิจารณาปรับโปรแกรม
            ให้เหมาะสม โดยดูจากผลการตอบสนองต่อการฝึก ซึ่งในแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน
                        1.3 หลักของความเฉพาะเจาะจงในการฝึก (Specificity Principle) การออก
            ก�าลังกายหรือการฝึกต้องมีการก�าหนดวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายที่ต้องการให้ชัดเจน ตลอดจน
            ความต้องการและการตอบสนองของแต่ละบุคคลที่ไม่เหมือนกัน ดังนั้น จึงต้องมีการจัดโปรแกรม
            การฝึกที่มีความเฉพาะเจาะจง (Specific Training) ตัวอย่าง คนที่กล้ามเนื้อขาไม่แข็งแรง ก็ต้อง

                                   ื
                                                                     �
                                                                                  ั
            จัดโปรแกรม เพื่อฝึกกล้ามเน้อต้นขาด้านหน้าและด้านหลัง ผลลัพล์จะทาให้กล้ามเน้อน้นจะมีความ
                                                                               ื
            แข็งแรงขึ้น และตรงกับความต้องการของผู้ที่ออกก�าลังกาย ส่วนนักวิ่งระยะสั้น โปรแกรมการฝึก
            จะต้องเน้นที่ระบบพลังงาน ก็ต้องฝึกระบบพลังงานแบบแอนแอโรบิก จึงจะมีความเฉพาะเจาะจง
            กับชนิดของกีฬา นอกจากนี้ผู้ฝึกสอนยังจ�าเป็นต้องจัดโปรแกรมการฝึกในส่วนอื่นๆ ร่วมด้วย มิใช่
                                              ี
                                                      ี
                                                            ั
                          ่
            เน้นเฉพาะส่วนทมีความเฉพาะเจาะจงเพยงอย่างเดยว หลกของความเฉพาะเจาะจงในการฝึกจะ
                          ี
                                                     ื
            ให้ประโยชน์และบังเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ก็ต่อเม่อการฝึกน้นมีความสอดคล้องกับกลุ่มกล้ามเน้อ
                                                             ั
                                                                                          ื
                                     ื
            ระบบพลังงาน ทักษะการเคล่อนไหว ของกีฬาชนิดน้นๆ และความหนักของโปรแกรมการฝึกจะ
                                                        ั
            ต้องเหมาะสมที่จะท�าให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านต่างๆ ได้ครบถ้วน

                     2.  ระบบพลังงานกับการออกก�าลังกาย
                       พลังงานของร่างกาย ได้มาจากการสลายสารอาหารผ่านกระบวนการเผาผลาญ และ
            ได้พลังงานออกมาในรูปสารเคมีที่มีพันธะพลังงานสูง (High energy bond) คือ เอทีพี (ATP) เป็น
            อักษรย่อมาจาก อะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต (Adenosine Triphosphate) โดย เอทีพ สามารถ
                                                                                   ี
                                                                            ั
                                                ั
                                              ี
                                                                                   �
            สังเคราะห์ได้จากกระบวนการทางชีวเคม ท้งระบบใช้และไม่ใช้ออกซิเจน ดังน้น การทางานของ
            กล้ามเนื้อ จะใช้พลังงานที่ได้จากกระบวนการเผาผลาญ 3 ระบบ ได้แก่
                        2.1 ระบบฟอสฟาเจน (Phosphagen system)  ในระบบนี้จะสังเคราะห์ ATP
            จาก ฟอสโฟครีเอทีน (Phosphocreatine) ท่อยู่ในกล้ามเน้อ ซ่งประกอบด้วย “หมู่ฟอสเฟต”
                                                              ื
                                                                  ึ
                                                   ี
            เหมือนกัน เมื่อ ฟอสโฟครีเอทีน แตกตัว จะได้ ครีเอทีน กับ Pi แล้ว Pi ที่ได้นี้จะไปรวมกับ ADP
            (Adenosine di-phosphate) ได้เป็นATP (Adenosine Triphosphate) โดยไม่ต้องใช้ออกซิเจน
                                                                                      ื
            ซ่งเป็นพลังงานประเภทพร้อมใช้งาน ที่ร่างกายสามารถนามาใช้ได้ทันท เน่องจากกล้ามเน้อจะม ี
              ึ
                                                           �
                                                                          ื
                                                                       ี
            56 การออกก�าลังกาย
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68