Page 52 -
P. 52
ิ
ื
ั
ุ
ิ
์
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ผ่านมา ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการออกก�าลังกายในน�้าได้พยายามหาวิธีที่ดีที่สุดในการค�านวณ
้
�
ั
�
ั
�
�
ั
หาอัตราการเต้นของหวใจเป้าหมาย สาหรบการออกกาลงกายในนา ทางสมาคมการออกกาลงกาย
ั
้
�
ี
ี
ในนาแนะนาให้ลดลงกว่าอัตราการเต้นของหัวใจเป้าหมายปกต ท่คิดด้วยวิธ HRmax หรือ
ิ
�
Karvonen’s formula 13-17 ครั้งต่อนาท (Sova, 2000) แต่การใช้การลดอัตราการเต้นของหัวใจ
ี
ั
เป้าหมายโดยใช้ค่าเหล่าน้มีโอกาสท่จะทาให้การประเมินท้ง HRmax และเปอร์เซ็นต์ความหนัก
ี
ี
�
ื
�
ี
สูงสุดท่แต่ละคนควรจะออกกาลังกายมากหรือน้อยเกินไปได้ เน่องจากมีปัจจัยเก่ยวข้องท่หลาก
ี
ี
หลาย รวมถึงระดับสมรรถภาพของผู้ออกก�าลังกายที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคล
เมื่อเร็วๆ นี้ได้มีงานวิจัยในประเทศบราซิล และสหรัฐอเมริกา ท�าการศึกษาชี้ให้เห็นว่า
�
ั
้
�
�
การคานวณอัตราการเต้นของหัวใจในการออกกาลังกายในนา เปอร์เซนต์หรือจานวนคร้งของอัตรา
�
การเต้นของหัวใจที่ใช้วิธีหักลบด้วยค่า ร้อยละ 13 หรือ 17 ครั้งต่อนาที มีความแม่นย�าน้อย โดย
Dr. Luiz Fernando Martins Kruel ท�าการศึกษาในประเทศบราซิล เพื่อเปรียบเทียบการตอบ
ื
�
�
สนองทางกายภาพต่อการออกกาลังกายบนบกกับในนา ดูอัตราการเต้นของหัวใจเม่ออยู่บนบกและ
้
ี
�
�
ในนาท่ระดับความลึกต่างกันสองระดับ สรุปว่าการท่จะหาค่าอัตราการเต้นของหัวใจท่จะนาไปหัก
้
ี
ี
้
่
�
้
ุ
�
ั
ลบในการคานวณอตราการเตนของหวใจในการออกกาลงกายในนาของแตละบคคลนน จาเปนตอง
ั
้
็
�
ั
้
ั
�
ใช้อัตราการเต้นของหัวใจบนบกและในนาของบุคคลน้นๆ มาร่วมคานวณด้วย (Kruel, 1994;
้
�
ั
�
Kruel et.al. 2002 อ้างใน AEA, 2018)
�
วิธีหาค่าอัตราการเต้นของหัวใจเพ่อนาไปหักลบสาหรับการออกกาลังกายในนา
�
ื
�
�
้
(Aquatic Heart Rate Deduction)
�
�
้
การหาค่าอัตราการเต้นของหัวใจเพ่อนาไปหักลบสาหรับการออกกาลังกายในนาของ
�
�
ื
แต่ละบุคคลท�าได้โดยจับชีพจรเป็นเวลา 1 นาที หลังจากยืนบนบก 3 นาที และจับชีพจรเป็นเวลา
1 นาที หลังจากลงไปยืนในน�้าที่ความลึกระดับรักแร้นาน 3 นาที แล้วน�าอัตราการเต้นของหัวใจ
ี
�
้
ตอนท่อยู่บนบก ลบด้วยอัตราการเต้นของหัวใจตอนยืนอยู่ในนา ก็จะได้ ค่าอัตราการเต้นของหัวใจ
�
้
ิ
่
ั
ั
�
ั
�
ื
่
�
้
เพอนาไปหกลบสาหรบการออกกาลังกายในนา ทงนต้องคานงถงปัจจยทางด้านสงแวดล้อม การ
ึ
ั
�
ึ
้
ี
ได้รับยา-คาเฟอีน และการเคลื่อนไหวที่มากเกินไปในจังหวะที่ลงน�้า เพราะปัจจัยเหล่านี้ย่อมมีผล
ต่ออัตราการเต้นของหัวใจทั้งสิ้น
้
�
ี
ื
�
ต่อไปน้เป็นตัวอย่าง การน�าค่าหักลบของอัตราการเต้นของหัวใจเม่อออกกาลังกายในนา
ของ Kruel Aquatic Heart Rate Deduction มาใช้กับ Karvonen’s formula เพ่อกาหนดอัตรา
ื
�
�
้
�
การเต้นของหัวใจเป้าหมาย ขณะออกกาลังกายในนาของแต่ละบุคคล โดยสมมติให้ผู้ออกกาลังกาย
�
อายุ 50 ปี อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก (HRrest) 70 ครั้งต่อนาที ต้องการฝึกให้ได้ความหนัก
การออกก�าลังกาย 45