Page 51 -
P. 51
ุ
์
ิ
ิ
ั
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
ื
้
�
ความหนักเท่ากัน ขณะอยู่ในนาจะมีอัตราการเต้นของหัวใจลดลงมากกว่าบนบกอย่างชัดเจน
้
�
ี
ี
นอกจากน การท่ตัวจมอยู่ในนาก็มีผลต่อ HRrest และอาจส่งผลต่อการคานวณความหนักของ
้
�
ิ
�
้
ี
่
การออกกาลังกายในนาด้วยวิธ Karvonen’s formula และมการวิจัยเพมเติมว่า อัตราการเต้น
ี
�
ของหัวใจขณะอยู่ในน�้าขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ที่ระบุไว้ในตารางที่ 3.9 ประกอบกับสมรรถภาพทาง
�
กายและอายุของผู้ออกกาลังกาย อาจท�าให้อัตราการเต้นของหัวใจขณะออกกาลังกายในนาตากว่า
�
�
้
�
่
บนบก
ี
�
้
�
ตารางที่ 3.9 ทฤษฎีอธิบายถึงสาเหตุท่อัตราการเต้นของหัวใจขณะออกกาลังกายในนาอาจตากว่า
�
่
บนบก เมื่อออกก�าลังกายที่ระดับเดียวกัน
�
อุณหภูมิ นาทาให้ร่างกายเย็นลงได้ง่ายกว่าอากาศ การระบายความร้อนได้ด ทาให้หัวใจ
้
�
�
ี
ท�างานลดลง เป็นผลให้อัตราการเต้นของหัวใจลดลง
ี
ี
�
่
่
�
ื
่
ู
ี
้
�
�
แรงโน้มถ่วง นาลดแรงกระทาจากแรงโน้มถ่วงทมต่อร่างกาย ทาให้เลอดจากส่วนทอย่ตา
กว่าหัวใจไหลกลับสู่หัวใจ (Venous return) ได้ง่ายขึ้น และมีปริมาณเพิ่มขึ้น
ท�าให้ปริมาณเลือดที่บีบออกจากหัวใจ (Stroke volume) เพิ่มขึ้น จึงท�าให้
อัตราการเต้นของหัวใจลดลง
ึ
�
แรงดันใต้น�้า นามีแรงดัน ซ่งกระทาต่อทุกระบบของร่างกาย รวมถึงระบบการไหลเวียนของ
้
�
เลือด ช่วยลดการท�างานของหลอดเลือดด�า เมื่อเทียบกับการออกก�าลังกาย
ี
�
บนบกท่ระดับเดียวกัน หัวใจจึงทางานน้อยลงในการนาเลือดจากแขน ขา กลับ
�
ิ
�
ึ
สู่หัวใจ มีปริมาณเลือดไหลกลับหัวใจ (Venous return) เพ่มข้น ทาให้ปริมาณ
เลือดที่บีบออกจากหัวใจ (Stroke volume) เพิ่มขึ้น เป็นผลให้อัตราการเต้น
ของหัวใจลดลง
้
ความดันย่อย ภายใต้ความดันก๊าซจะละลายในนาได้ดีข้น จึงเช่อว่าการขนส่งออกซิเจนโดย
�
ื
ึ
ั
ของก๊าซ เลอดจะมประสทธภาพมากขนจากความดนของน�า และทาใหหวใจทางานลด
�
ั
ี
้
ิ
้
ึ
ิ
ื
�
้
ลง
ื
�
ื
�
้
มวลร่างกาย จากการศึกษาพบว่าเม่อมวลของร่างกายลดลง (น้าหนักเบาลงเม่ออยู่ในนา
ที่ลดลง จากแรงลอยตัว) อาจมีส่วนต่ออัตราการเต้นของหัวใจท่ลดลงเม่อออกกาลัง
ื
ี
�
กายในน�้า
ที่มา: AEA; 2018
44 การออกก�าลังกาย