Page 46 -
P. 46
ิ
์
ื
ิ
ิ
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
ั
วัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อส่วนบนของ
ร่างกาย
อุปกรณ์ เบาะ และนาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที
วิธีด�าเนินการ
้
1. ให้ผู้ทดสอบอยู่ในท่าเตรียมพร้อม ผู้ชายนาหนักอยู่ท่ปลายเท้า ส่วนผู้หญิงนาหนัก
�
ี
้
�
อยู่ที่เข่า (ดังแสดงในรูปที่ 3.3) ล�าตัวเหยียดไปข้างหน้า โดยยันฝ่ามือทั้งสองข้างไว้กับพื้น
ให้ปลายนิ้วชี้ตรงไปข้างหน้า และให้ฝ่ามือห่างกันเท่ากับช่วงไหล่
2. ในขณะท่ผู้เข้ารับการทดสอบเตรียมพร้อมท่จะปฏิบัต ลาตัวจะต้องเหยียดตรง
ี
�
ิ
ี
้
้
่
้
้
้
้
้
แขนทั้งสองขางอยูในทาเหยียดตึง เมื่อไดรับสัญญาณ ”เริ่ม” ใหผูเขารับการทดสอบยุบขอ แลวดัน
่
พื้นลงไป โดยท�ามุม 90 องศาที่ข้อศอกทั้งสองข้าง ในขณะที่แขนท่อนบนขนานกับพื้น แล้วยกแขน
และล�าตัวกลับขึ้นมาอยู่ในท่าเดิม นับเป็น 1 ครั้ง ท�าติดต่อไปเรื่อยๆ จนครบ 1 นาที
ื
3. ผู้เข้ารับการทดสอบจะต้องเกร็งกล้ามเน้อหน้าท้อง และรักษาหลังให้ตรงอยู่ตลอด
เวลา บันทึกผลที่ได้ และน�าค่าไปเปรียบเทียบกับค่าเกณฑ์ ในตารางที่ 3.7
ตารางที่ 3.7 เกณฑ์ทดสอบการดันพื้น 1 นาที (1 min Push-Ups)
เพศชาย
อายุ (ปี) 18-29 30-39 40-49 50-59 60+
ดีมาก >64 >54 >43 >33 >23
ดี 51-64 41-54 32-43 26-33 18-23
ปานกลาง 37-50 27-40 22-31 17-25 11-17
ต�่า 23-36 18-26 13-21 8-16 6-10
ต�่ามาก <23 <18 <13 <8 <6
เพศหญิง
อายุ (ปี) 18-29 30-39 40-49 50-59 60+
ดีมาก >54 >43 >33 >23 >17
ดี 44-54 32-43 26-33 18-23 15-17
ปานกลาง 32-43 22-31 17-25 11-17 10-14
ต�่า 20-31 13-21 8-16 6-10 4-9
ต�่ามาก <20 <13 <8 <6 <4
ที่มา: Robbins et.al., 2002
การออกก�าลังกาย 39