Page 31 -
P. 31

ิ
                                        ์
                        ื
                           ิ
                                                                       ั
                                                                                ุ
                                           ิ
                                                       ิ
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
            ต่อตารางนิ้ว และทุกๆ ความลึกของน�้า 1 ฟุต แรงดันใต้น�้าจะเพิ่มขึ้น 0.433 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
            (Sova, 2000) จึงท�าให้เลือดด�าจากส่วนล่างของร่างกายไหลกลับเข้าสู่หัวใจ (Venous return) ได้
            เพิ่มขึ้นนั่นเอง นอกจากนี้ แรงดันยังมีผลต่อช่องอก จึงไปช่วยการท�างานของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการ
            หายใจ ท�าให้หายใจเข้าได้ลึกขึ้น อย่างไรก็ตามในคนที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับทางเดินหายใจ อาจ

            จะมีอาการหายใจล�าบากได้ เมื่ออยู่ในน�้าที่ระดับความลึกสูงกว่าหน้าอก



                   7.  แรงตึงผิว

                                                                            ี
                                                             �
                     แรงตึงผิว (Surface Tension) คือ แรงกระทาระหว่างโมเลกุลท่อยู่บนผิวหน้าของ
                                                               ี
                                       ้
                                          �
                                                 ึ
                      �
                                       �
                                                                                 ิ
            ของเหลว ทาให้การผ่านลงไปในนาทาได้ยากข้น คุณสมบัติข้อน้ของนาอาจเป็นการเพ่มระดับความ
                                                                    ้
                                                                    �
            ยากให้กับผู้ออกก�าลังกายบางคน
                                                  ้
                     ในขณะท่แขนหรือขาผ่านจากผิวนามาสู่อากาศ การเปล่ยนแปลงของความหนืดและ
                                                                    ี
                              ี
                                                  �
            การทะลุผ่านแรงตึงผิวของน�้า อาจท�าให้เกิดการเหวี่ยงของต้นแขนหรือต้นขาอย่างรุนแรงหรือเกิด
                                                               ้
                                                                                    �
                                       �
                             ั
                                                               �
                                            �
                                                   ื
                    ี
                                                                                    ้
            แรงบิดท่ข้อต่อ ดังน้น จึงแนะนาให้ทาการเคล่อนไหวใต้ผิวนาหรือในอากาศเหนือผิวนา แต่ไม่
                                                    ื
                                                                                 ี
                                       �
                                       ้
                            ี
                       ี
               ื
            เคล่อนไหวท่จุดเปล่ยนระหว่างนาและอากาศ เม่อเกิดการบิดของข้อต่อหรือการเหว่ยงเกินกว่าท ี ่
                                                 ี
            คาดไว้ จะไปเพ่มความเส่ยงในการบาดเจ็บท่ข้อต่ออย่างเฉียบพลันหรือจากการใช้งานมากเกินไป
                                 ี
                         ิ
                                                                ุ
                    ิ
                                               ้
                                               �
                                                                                ี
              ั
            (มกจะเกดกบหวไหล่) ท่าทางในการว่ายนาบางท่า เช่น ท่าหมนแขนในการว่ายฟรสไตล์ (Front
                      ั
                         ั
            crawl) หรือว่ายกรรเชียง (Back crawl) ซึ่งเป็นการหมุนแขนรอบข้อต่อหัวไหล่โดยไม่มีอุปกรณ์
            เป็นกรณียกเว้นส�าหรับค�าแนะน�านี้
                   8.  การถ่ายเทความร้อน
                                    ้
                     คุณสมบัติของนาท่มีประโยชน์ต่อสุขภาพนอกจากจะข้นอยู่กับความสามารถใน
                                    �
                                                                      ึ
                                       ี
            การเก็บสะสมความร้อนแล้วเกิดจากคุณสมบัติในการถ่ายเทความร้อนของนาด้วย เม่อวัตถุท่ม ี
                                                                            ้
                                                                                    ื
                                                                                          ี
                                                                            �
            พลังงานความร้อนสะสมต่างกันสัมผัสกันจะเกิดการถ่ายเทพลังงานความร้อนให้กันจนเกิดความ
            สมดุล การถ่ายเทความร้อนระหว่างวัตถุต่างๆเกิดข้นได้ในสามลักษณะ คือ การน�าความร้อน (Heat
                                                     ึ
                                                                  ั
            conduction) การพาความร้อน (Heat convection) และ การแผ่รงสีความร้อน (Heat radiation)
            ความสามารถในการน�าความร้อนของวัตถุต่างๆ มีไม่เท่ากัน โลหะต่างๆ สามารถน�าความร้อนได้ดี
                  �
                                                �
                        ้
                        �
                                        ี
              ี
            ท่สุด สาหรับนาถือว่ามีคุณสมบัติท่ดีในการนาความร้อน สามารถนาความร้อนได้ใกล้เคียงกับโลหะ
                                                                  �
                                                                                 �
                                                                                 ้
                                                             ื
            ต่างจากก๊าซต่างๆ รวมทั้งอากาศท่นาความร้อนได้ไม่ด เม่อเปรียบเทียบระหว่างนากับอากาศ
                                                          ี
                                          ี
                                           �
            น�้าสามารถน�าความร้อนได้ดีกว่าอากาศถึง 25 เท่า ท�าให้น�้ามีประโยชน์ส�าหรับการใช้เพื่อถ่ายเท
            ความร้อนออกจากร่างกายได้ดีขณะออกก�าลังกาย (สุริยา 2553)
            24 การออกก�าลังกาย
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36