Page 26 -
P. 26
ิ
ิ
ิ
์
ั
ื
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
ุ
ื
่
ี
ื
ี
ี
ขนาดของพ้นท่ผิวด้านหน้าของวัตถุในทิศท่มีการเคล่อนท (Frontal surface area)
ึ
ซ่งกระทากับแรงต้านในแนวนอนของนา มีผลต่อปริมาณของพลังงานท่ต้องใช้ในการเคล่อนวัตถ ุ
�
ื
้
ี
�
�
้
ี
ี
�
ื
้
�
ในนา จะพบว่าการออกแบบเรือส่วนมากจะมีด้านหน้าท่เล็กเรียวเพ่อท่จะได้แหวกผ่านนา ทาให้
การไหลของน�้าแบบปั่นป่วน (Turbulent flow) และ แบบกระแสวนกลับ (Eddies) ลดน้อยลง
การลดพ้นท่ผิวน้จะช่วยให้เกิดการไหลท่เป็นระเบียบมากข้น ทาให้ลดการใช้พลังงานในการขับ
ี
ึ
�
ื
ี
ี
เคลื่อนเรือ (รูปที่ 2.7) ส�าหรับการออกก�าลังกายในน�้าก็เช่นกัน ถ้าขนาดของพื้นที่ผิวของร่างกาย
ในทิศที่มีการเคลื่อนที่เล็กลงจะท�าให้การเคลื่อนที่ท�าได้ง่ายขึ้น เช่น พื้นที่ผิวด้านข้างมักจะมีพื้นที่
น้อยกว่าด้านหน้าของร่างกาย การเคล่อนท่ไปข้างๆ จึงทาให้เกิด แรงต้านทานน้อยกว่าการเคลื่อน
�
ื
ี
ทีไปข้างหน้า การจะเพิ่มแรงต้านโดยการเพิ่มพื้นที่ผิวให้มากขึ้นไปอีกสามารถท�าได้ เช่น การเดิน
ไปข้างหน้าพร้อมทั้งกางแขนออกด้านข้าง ให้ฝ่ามือหันไปด้านหน้า การเคลื่อนไปข้างหน้าโดยการ
ยกเข่าออกด้านข้าง จะมีความหนักมากกว่าการเคล่อนท่ไปข้างหน้าโดยการยกเข่าข้นด้านหน้า
ี
ื
ึ
ึ
ี
ื
�
ี
ื
ี
ื
เน่องจากการยกเข่าด้านข้างทาให้พ้นท่ผิวของร่างกายด้านหน้าซ่งเป็นทิศทางท่มีการเคล่อนท่กว้าง
ขึ้น (AEA, 2010)
รูปที่ 2.7 แรงต้านทานกับขนาดของพื้นที่ผิว ลักษณะของพื้นที่ผิวรูปบนแรงต้านน้อยกว่ารูปล่าง
ที่มา: ดัดแปลงจาก AEA, 2018
3.4 ต�าแหน่งและรูปร่างของมือ
ื
ื
พ้นท่ผิวท่เกิดจากการจัดท่าทางของมือในขณะท่แขนเคล่อนไปในนา มีผลต่อการ
ี
้
�
ี
ี
ื
�
ี
ี
ื
ออกแรงของกล้ามเน้อมือ แขน และกล้ามเน้อส่วนบนของร่างกาย มือสามารถท่จะทาให้มลักษณะ
เหมือนพายเพื่อกวาดน�้าได้มากขึ้น หรือจะท�าให้เล็กเพื่อลดแรงดึงในน�้า ขนาดพื้นที่ผิวและรูปร่าง
�
้
ของมือในขณะท่ผ่านนา เป็นตัวกาหนดว่ามือจะดึงนาและสร้างแรงต้านได้มากน้อยแค่ไหน มือท ี ่
ี
�
�
้
�
กาเป็นกาปั้นหรือการเคล่อนมือไปด้านข้างในลักษณะเหมือนการห่นหรือเฉือนผ่านน�าจะทาให้เกิด
�
�
้
ื
ั
การออกก�าลังกาย 19