Page 25 -
P. 25

์
                                                                       ั
                                                                                ุ
                                           ิ
                                                       ิ
                        ื
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                           ิ
                                     ิ
                                                 �
                                     ึ
                                                                                        �
                                                           �
                                                                      ิ
                     จุดประสงค์อย่างหน่งของการออกกาลังกายในนา เพ่อท่จะเพ่มการใช้พลังงาน การทาให้
                                                                 ี
                                                           ้
                                                               ื
            เกิดแรงต้าน และการไหลอย่างไม่เป็นระเบียบของน�้า หรือเรียกว่า การไหลแบบปั่นป่วน (Turbu-
            lent flow) เป็นการเพิ่มแรงต้าน (รูปที่ 2.6) Turbulent flow เป็นการเคลื่อนที่ของของเหลวที่
            ไม่ปกติ กล่าวคือ ณ จุดจุดหนึ่งมีการเคลื่อนไหวหลายรูปแบบท�าให้เกิดแรงต้านเพิ่มขึ้น และท�าให้
            เกิดการเคลื่อนที่แบบเป็นวงกลม หรือเรียกว่า กระแสน�้าวนกลับ (Eddies) (รูปที่ 2.6) เราสามารถ
                            �
                            ้
              �
            ทาให้การไหลของนารอบตัวและแขนขาไม่เป็นระเบียบ หรือเป็นการไหลแบบปั่นป่วน ได้จากการนา
                                                                                          �
                                                                       ื
            กฎการเคล่อนท่ของนิวตันมาประยุกต์ใช้ โดยการเพ่มแรงต้านท่เกิดจากพ้นท่ผิวในทิศทางท่ทาการ
                                                                                      ี
                                                                                       �
                                                               ี
                         ี
                     ื
                                                                          ี
                                                      ิ
            เคลื่อนที่ด้านหน้า (Frontal resistance) การเพิ่มความยาวของคานหรือแขนขา และการเปลี่ยน
            ท่าทางของมือ (Hand positions) เพื่อก�าหนดความหนักของการออกก�าลังกายในน�้า












                        รูปที่ 2.6 การไหลแบบปั่นป่วน (บน) และ แบบกระแสวนกลับ (ล่าง)
                                       ที่มา: ดัดแปลงจาก AEA, 2018




                     3.3  แรงต้านที่เกิดจากพื้นที่ผิวด้านหน้า

                         แรงต้านที่เกิดจากพื้นที่ผิวด้านหน้าในทิศทางที่ท�าการเคลื่อนที่ เป็นอีกปัจจัยหนึ่ง
            ที่มีผลต่อความหนักของการออกก�าลังกาย ซึ่งเป็นผลจากแรงแนวนอน (Horizontal) ของน�้า บน

                                                            ึ
                                                          ิ
                ั
                               �
                          ี
            บกน้นแรงหลักท่กระทาต่อร่างกายเป็นแรงดึงลงในแนวด่งซ่งเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก ส่วนแรง
                                                                   �
            ต้านในแนวนอนจะรู้สึกได้ก็ต่อเม่อเดินทวนลมแรงๆ ซ่งในการออกกาลังกายส่วนใหญ่แล้วแรงต้าน
                                       ื
                                                        ึ
                                ั
                                                                                        �
            ในแนวนอนในอากาศน้นมีน้อยมากจนไม่รู้สึก แต่ในนาแรงโน้มถ่วงไม่ใช่แรงหลักท่มากระทาต่อ
                                                         ้
                                                         �
                                                                                ี
                                                                                       ึ
                                      ี
                     ื
            ร่างกาย เน่องจากแรงโน้มถ่วงท่เป็นแรงแนวด่งดึงลงสู่ด้านล่างน้นถูกหักล้างด้วยแรงลอยตัวซ่งเป็น
                                                 ิ
                                                                ั
                                                                                 ้
            แรงในแนวเดียวกัน แต่อยู่ในทิศทางตรงกันข้าม อย่างไรก็ดีแรงต้านในแนวนอนของนาน้น มากพอ
                                                                                 �
                                                                                   ั
            จนสามารถรับรู้ได้เนื่องจากความหนืดของน�้า
            18 การออกก�าลังกาย
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30