Page 30 -
P. 30
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ึ
เป็นแบบไม่ต้องรับนาหนักตัวหรือรับน้อยกว่าเม่ออยู่บนบก ซ่งเป็นคุณลักษณะท่มีประโยชน์ในการ
�
้
ื
ี
�
ป้องกันการบาดเจ็บบริเวณข้อต่อและกระดูกจากการทากิจกรรมน้นๆ และยังมีประโยชน์มาก
ั
ั
�
�
้
ี
ื
ื
ู
สาหรับผ้ท่มีปัญหาเร่องนาหนักตวเกิน มีการบาดเจ็บของกระดูก กล้ามเน้อหรือข้อต่อ หรอผู้ม ี
ื
ปัญหาเรื่องโรคข้ออื่นๆ ตลอดจนหญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุ และผู้ที่เพิ่งฟื้นจากการเจ็บป่วยหรือหลัง
การผ่าตัด
ปกติกล้ามเนื้อในส่วนต่างๆ ของร่างกายจะมีความตึงตัว (Tone) ตลอดเวลา เกิดจาก
ั
กล้ามเน้อท่วร่างกายท่สลับสับเปล่ยนกันทางานมากน้อยข้นอยู่กับอิริยาบถ กิจกรรมท่กระทา สภาพ
ึ
ี
�
ี
ี
�
ื
้
�
ื
ทางจิตใจและอารมณ์ ขณะท่แช่อยู่ในนา แรงลอยตัวทาให้ลดความตึงตัวในกล้ามเน้อเกือบทุกส่วน
ี
�
ของร่างกายได้ กล้ามเนื้อจึงมีความยืดหยุ่นสูงขึ้น ส่งผลให้สามารถเคลื่อนไหวข้อต่อต่างๆ ได้ง่าย
และเต็มช่วงมุมของการเคลื่อนไหว
้
่
ิ
ื
ื
ั
บนบก แรงโนมถวงของโลกเสรมหรอตานการเคลอนไหว แตในนาแรงลอยตวกจะชวย
่
็
่
่
�
้
้
ื
ิ
ี
เสริมหรือต้านการเคล่อนไหวได้เช่นกัน เน่องจากแรงลอยตัวเป็นแรงในแนวด่งท่มีทิศทางข้นสู่
ึ
ื
ี
ื
้
ั
ึ
ด้านบน ดังน้นการเคล่อนไหวใดๆ ท่เป็นการลอยข้นสู่ผิวนาจะมีแรงลอยตัวเข้ามาช่วย เรียกว่า
�
ื
Buoyancy assisted ในขณะท่การเคล่อนไหวท่มีทิศทางจมลงสู่ก้นสระ จะเป็นการต้านแรงลอยตัว
ี
ี
เรียกว่า Buoyancy resisted การเคล่อนไหวขณะท่ลอยอยู่บนผิวน�าเป็นเพราะมีแรงสนับสนุนจาก
้
ื
ี
�
แรงลอยตัวซ่งจะเรียกว่า Buoyancy supported การเคล่อนไหวร่างกายไปในนาโดยท่ไม่มีอุปกรณ์
ื
ี
้
ึ
ี
ช่วย เป็นการเคล่อนไหวต้านกับแรงต้านของนามากกว่าท่จะต้านแรงลอยตัว แต่เม่อมีการใช้อุปกรณ์
ื
�
ื
้
แรงลอยตัวและแรงโน้มถ่วงของโลกจะเข้ามามีบทบาท และมีผลต่อการใช้แรงของกล้ามเนื้อ
6. แรงดันใต้น�้า
แรงดันใต้น�้า (Hydrostatic pressure) คือ แรงดันที่โมเลกุลของของเหลวกระท�าต่อ
วัตถุที่จมอยู่ในของเหลวนั้น จากกฎของปาสคาล แรงดันที่กระท�าต่อพื้นผิวของวัตถุที่จมอยู่จะเท่า
ื
ั
ุ
ึ
ิ
ู่
่
ั
ิ
ึ
ึ
ั
กน เม่อวตถอยน่งทความลกระดบหน่ง โดยความดันจะเพ่มขนเมอความลกและความหนาแน่นของ
ี
ื
้
ึ
่
ของเหลวเพิ่มขึ้น ที่ระดับความลึกเดียวกันน�้าทะเลมีความดันมากกว่าน�้าจืด เนื่องจากมีความหนา
แน่นมากกว่า
แรงดันใต้น�้านี้ มีผลต่ออวัยวะภายในร่างกายและผิวหนัง โดยแรงดันใต้น�้าสามารถลด
การบวมได้ โดยเฉพาะในขาส่วนล่าง ซึ่งจมอยู่ในน�้าที่อยู่ลึกกว่าส่วนอื่นของร่างกาย ระหว่างการ
�
�
ี
ออกกาลังกายแรงดันน้จะทาให้การสะสมของเลือดบริเวณส่วนล่างของร่างกายลดลง และช่วยท�าให้
้
�
ี
้
�
ึ
�
เลือดดาและนาเหลืองไหลกลับเข้าสู่หัวใจได้ดีข้น โดยท่แรงดันระดับผิวนา มีค่าเท่ากับ 14.7 ปอนด์
การออกก�าลังกาย 23