Page 33 -
P. 33
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ี
้
จากตาราง 2.2 เป็นการแสดงคุณสมบัติและกฎของการเคล่อนท่ในนา ท่มีผลต่อการ
ี
�
ื
ออกแรงของกล้ามเนื้อและความหนักในการออกก�าลังกาย ที่มีความส�าคัญจะต้องเรียนรู้หลักการ
และท�าความเข้าใจ เพื่อใช้ในการออกแบบท่าเต้น และผลกระทบที่มีต่อการเพิ่มหรือลดความหนัก
�
สาหรับนามาปรับใช้กับผู้ท่ออกกาลังกายแต่ละคน และเป็นพ้นฐานสาคัญท่ทาให้การสอนออกกาลัง
�
�
ี
ื
�
�
ี
�
กายในน�้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น
ดังนั้น ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกก�าลังกายในน�้า ควรท�าความคุ้นเคยกับกฎและคุณสมบัติ
ึ
ี
ี
�
ทางฟิสิกส์ของน้า ซ่งองค์ความรู้เก่ยวกับกฎและคุณสมบัติเหล่าน้จะช่วยให้สร้างโปรแกรมการออก
�
�
กาลังกายในนาท่มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพส�าหรับผู้ออกกาลังกายทุกคน การจัด
ี
้
�
โปรแกรมสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา จะช่วยพัฒนาทักษะของผู้ฝึกสอนและท�าให้ผู้ที่ออก
ก�าลังกายมีทักษะและสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น
ื
�
ี
้
�
โดยสรุปการออกกาลังกายในนามีการเคล่อนไหวท่แตกต่างจากการออกกาลังกายบนบก
�
ื
ประกอบด้วย ความเร็วในการเคล่อนไหว แรงเฉ่อยของร่างกาย-นา-แขนขา แรงกิริยาและแรง
�
้
ื
ปฏิกิริยา แรงต้านทานในรูปแบบต่างๆ การหดตัวของกล้ามเนื้อแบบเอ๊กเซนตริกและคอนเซนตริก
�
ี
ู
ระบบคานของร่างกาย แรงลอยตว แรงดันใต้นา และแรงดงผิวของนา ท่ผ้ฝึกสอนต้องนาองค์ความ
�
้
�
ึ
ั
้
รู้เหล่าน มาใช้ในการออกแบบโปรแกรมการออกกาลังกายในนาให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
้
�
้
�
ี
ั
�
ตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ออกกาลังกาย โดยปราศจากการบาดเจ็บและเป็นอันตรายท้งในระหว่าง
และหลังการออกก�าลังกาย
26 การออกก�าลังกาย