Page 28 -
P. 28
ิ
์
ิ
ุ
ื
ิ
ั
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
ี
สามารถจะเปล่ยนความยาวแขนของแรงพยายาม (จุดท่กล้ามเน้อยึดติดกับกระดูก) ได้ แต่จะเปล่ยน
ี
ี
�
ความยาวแขนของแรงต้านทาน หรือความยาวของแขนขาได้ ซ่งขาสามารถทาให้ยาวข้นได้ โดยการ
ึ
ึ
ั
ึ
�
เหยียดเข่าและเกร็งข้อเท้าไว้ให้ฝ่าเท้างุ้มลง ส่วนแขนน้น สามารถทาให้ยาวข้นได้ด้วยการเหยียด
ข้อศอกและให้ข้อมืออยู่ในต�าแหน่งธรรมชาติพร้อมทั้งแบมือออก
ในการออกกาลังกาย ความยาวแขนของแรงต้านทานของคานน้น มีผลต่อความหนักใน
�
ั
ี
การออกกาลังกาย หรือปริมาณพลังงานท่กล้ามเน้อต้องใช้ในการเคล่อนไหวแขน ขา หรือส่วนต่างๆ
ื
�
ื
ของร่างกาย ตัวอย่าง การยกเข่า เป็นการท�าให้แขนของแรงต้านทานส้นลง ทาให้กล้ามเน้อ
ื
�
ั
ื
�
Ilio-psoas ออกแรงน้อยกว่าการแตะโดยท่เหยียดขาตรง สาหรับการยกเข่าจะต้องออกแรงเพ่อหัก
ี
้
ล้างแรงต้านของนาตลอดความยาวขาต้งแต่ข้อสะโพกถึงข้อเข่า ส่วนการเตะจะต้องออกแรง
�
ั
ื
ี
�
้
ื
เพ่อหักล้างปริมาณแรงต้านของนาจากข้อสะโพกถึงปลายน้วเท้าท่ยาวมากกว่า จึงไม่ใช่เร่อง
ิ
ี
�
แปลกเลยท่ทาไมการเตะจึงต้องออกแรงมากกว่าการยกเข่า และก็เป็นเช่นเดียวกันกับกรณีของแขน
การยกแขนออกด้านข้างลาตัวในขณะท่งอข้อศอก (แขนของความต้านทานส้นกว่า) ก็จะใช้แรงน้อย
ี
�
ั
กว่าการยกแขนที่เหยียดตรงออกทางด้านข้างล�าตัว (แขนของความต้านทานยาวกว่า) (รูปที่ 2.8)
รูปที่ 2.8 ความยาวของคาน โดยคานสั้น (ขา-แขนงอ) จะออกน้อยกว่าคานยาว (ขา-แขนเหยียด)
ที่มา: AEA, 2018
การออกก�าลังกาย 21