Page 23 -
P. 23
ุ
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
ั
์
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ี
ื
เม่อแขนและขาเคล่อนไหวในทิศทางตรงข้ามกัน แขนจะสร้างแรงท่มาขัดขวางการ
ื
เคลื่อนไหวของขาในขณะที่มีการเคลื่อนที่ จะท�าให้เกิดการไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent flow)
จึงมีแรงต้านมากขึ้น ส่งผลให้การเคลื่อนที่นั้นมีความหนักมากขึ้น ส่วนการที่แขนส่งเสริมขาในการ
เคลื่อนที่หรือท�างานร่วมกับขาในการเคลื่อนไหวอยู่กับที่ จะท�าให้เกิด Turbulent flow และแรง
�
ต้านน้อยลง ท�าให้มีความหนักในการออกกาลังกายน้อยลงไปด้วย เมื่อต้องการใช้กฎของแรง
ปฏิกิริยา ผู้ฝึกสอนควรตระหนักถึงระดับสมรรถภาพและความสามารถของผู้ท่ออกกาลังกาย
�
ี
ี
�
ถ้าหากผู้ที่ออกกาลังกายไม่แข็งแรงพอหรือไม่มีทักษะมากพอท่จะใช้แรงปฏิกิริยาจากการเคล่อนไหว
ื
�
ของแขนมาขัดขวางให้เกิดความหนักในการออกกาลังกายท่มากข้น โดยที่ยังสามารถรักษาตาแหน่ง
ึ
�
ี
�
ื
ื
ของร่างกายได้ การจัดตาแหน่งของร่างกายเป็นส่งท่ควรตระหนักถึงในเบ้องต้น เม่อนาการ
�
ี
ิ
ั
ั
ั
ื
ิ
เคล่อนไหวของแขนและขามาผสมผสานกน การสอนเทคนค เช่น การให้ตวเลอกในการปฏิบต ิ
ื
�
ั
่
ื
ี
กระตุ้นให้รู้จักสงเกต และควบคุมการเคลอนไหวของตนเอง จะทาให้ผู้ออกกาลังกายท่มีระดบ
�
ั
สมรรถภาพต่างกันสามารถร่วมกลุ่มออกก�าลังกายเดียวกันได้
3. แรงต้าน
แรงต้านในนา วัตถุต่างๆ จะเคล่อนท่ในนาได้ยากกว่าในอากาศเน่องจากในนามีความ
�
้
ื
�
้
้
�
ี
ื
�
ื
หนาแน่นกว่าอากาศ และมีความหนืด (viscosity) ทาให้เกิดแรงต้านทานต่อการเคล่อนไหวสูงกว่า
อากาศ แรงต้านของน�้าต่อการเคลื่อนไหวมีขนาดมากน้ายข้นอยู่กับรูปร่างลักษณะของวัตถุ พื้นที่
หน้าตัด ลักษณะผิวของวัตถุ ตลอดจนความเร็วในการเคลื่อนที แรงต้านของน�้ามีประโยชน์ส�าหรับ
ใช้สร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขณะออกก�าลังกายในน�้า (สุริยา, 2553)
3.1 แรงต้านในน�้าในรูปแบบแรงฉุด
เมื่อท�าการเคลื่อนไหวในน�้า ความเร็วในการเคลื่อนไหวจะช้า เนื่องจาก แรงฉุด
(Drag) หรือ แรงต้านขณะทาการเคล่อนไหวในนา เกิดจากคุณสมบัติประการหน่งของของเหลว
�
ึ
ื
้
�
ึ
(ความหนืด) ซ่งแรงต้านท่เกิดข้นจะสัมพันธ์กับรูปร่างและขนาดของพ้นผิวในทิศทางท่ทาการ
ื
ี
ึ
�
ี
ื
เคล่อนไหว ความเร็ว และทิศทางการเคล่อนท่ของร่างกายและนา โดยเม่อเปรียบเทียบการออก
�
ี
ื
ื
้
�
ึ
้
ิ
กาลังกายในนากับบนบก ผลของแรงต้านในนาจะเพ่มความหนักมากข้น และการออกแรงของกล้าม
�
้
�
่
ี
ื
�
ื
ี
ื
ี
เน้อท่แตกต่างกัน คือ บนบกกล้ามเน้อจะทางานหนักน้อยลง เม่อเคล่อนท่ด้วยความเร็วคงท แต่ใน
ื
น�้านั้น กล้ามเนื้อจะออกแรงคงที่ตลอดช่วงการเคลื่อนไหวของข้อต่อ
3.2 ความหนืด
ความหนืด (Viscosity) หมายถึง แรงเสียดทานระหว่างโมเลกุลของของเหลว
หรือก๊าซ ท�าให้โมเลกุลมีแรงยึดเกาะระหว่างกัน ร่างกายเมื่อแช่อยู่ในน�้า น�้ามีความหนืดมากกว่า
16 การออกก�าลังกาย