Page 24 -
P. 24

ิ
                                                       ิ
                        ื
                                                                       ั
                                                                                ุ
                                           ิ
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                        ์
                                     ิ
                                                                      �
                                                                         ื
                                     �
                                     ้
                                                                      ้
                                                                     ี
                                                                                             ้
                                                                                             �
               อากาศ หรือกล่าวได้ว่าในนามีแรงต้านมากกว่าอากาศ เหมือนกับท่นาเช่อมมีความหนืดมากกว่านา
               ความหนืดจะเพิ่มมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลง ดังนั้นอากาศ น�้า และน�้าเชื่อมจะมีความหนืดมากขึ้น
                                                                   �
               เมื่อเย็นตัวลง แรงเสียดทานระหว่างโมเลกุลหรือความหนืดของน้าเป็นส่งท่ทาให้เกิดแรงต้านในการ
                                                                        ิ
                                                                           ี
                                                                            �
                            ้
                            �
                                                                             �
               เคล่อนท เม่อนามีความหนืดมากกว่าอากาศทาให้แรงต้านการเคล่อนท่ในนามีมากกว่าในอากาศ
                                                                         ี
                                                                             ้
                                                     �
                                                                     ื
                      ี
                      ่
                         ื
                  ื
               ตามที่กาลิเลโอได้ค้นพบว่า แรงเสียดทานหรือความหนืดท�าให้วัตถุตกลงในน�้าเคลื่อนที่ช้ากว่าเมื่อ
                                           ิ
                                          ี
                                                                             ้
                                                                                 ่
                                          ่
                                                                                        ่
                                                                                        ื
                                                                    �
                                                                  ั
                                                      ็
                                                             ุ
                                                               ็
               ตกลงในอากาศ เขายงพบวาพนทผวและความเรวของวัตถเปนตวกาหนดแรงตานตอการเคลอนไหว
                                     ่
                                ั
                                       ื
                                       ้
                                                                             ี
                                                              �
                                                                                 ึ
                                                                                      �
               ซ่งเกิดจากความหนืดของของเหลว ในระหว่างการออกกาลังกายแรงต้านท่เพ่มข้นจะทาให้ความ
                ึ
                                                                               ิ
                             ื
               หนักของการเคล่อนไหวมีมากข้น ดังน้นจึงต้องออกแรงของกล้ามเนื้อมากข้น การที่ใช้พลังงานมาก
                                              ั
                                         ึ
                                                                           ึ
               ขึ้น ก็จะท�าให้มีการเผาผลาญพลังงาน หรือใช้แคลอรี่มากขึ้นด้วย (AEA, 2010)
                        ขณะที่ออกก�าลังกายในน�้า โดยเดินไปข้างหน้าสองสามฟุต ความหนืดของน�้าจะท�าให้มี
                 �
                 ้
               นาปริมาณหน่งเคล่อนท่ไปรอบๆตัว ความหนืดยังอาจทาให้การเดินแบบเจาะจงระยะก้าวเม่ออยู่
                                                                                          ื
                                                             �
                               ื
                                   ี
                           ึ
                          �
               ติดผนังสระทาได้ยากกว่าการเดินอยู่ห่างจากผนังสระ เม่อเดินอยู่ใกล้ผนังสระจะรู้สึกได้ว่ามีแรง
                                                              ื
               เสียดทานมากกว่าซึ่งท�าให้การเคลื่อนที่ไปข้างหน้าท�าได้ยากขึ้น
                        มีหลายวิธีการที่จะปรับแรงต้านของน�้า การไหลแบบแนวกระแส (Streamlined flow)
                         ื
                                                                                     ี
                                                                                     ่
                                                                                 ื
                                      ื
                                                                ่
                                                                ี
                             ี
                                               ี
               เป็นการเคล่อนท่อย่างต่อเน่องและคงท่ของของเหลว (รูปท 2.5) อัตราการเคล่อนทในแต่ละจุด
               คงที่ นักว่ายน�้าพยายามที่จะท�าให้เกิดการไหลที่เป็นแบบแนวกระแส (Streamlined flow) โดย
               การลดพื้นที่ผิวในทิศทางที่มีการเคลื่อนที่ (ท�าตัวให้ลู่น�้า) และท�าการว่ายน�้าในแต่ละท่าให้มีความ
                                                                                             ้
                                                                                     ื
                                                                                             �
                                                                        ี
                                       ื
               นุ่มนวลและมีประสิทธิภาพ เพ่อให้เกิดแรงเสียดทานหรือแรงต้านน้อยท่สุดในขณะท่เคล่อนไปในนา
                                                                                  ี
               นักว่ายน�้าที่ท�าได้ดี จะไปได้ไกลและเร็วกว่าด้วยการใช้พลังงานที่น้อยกว่า การว่ายน�้าด้วยท่าทาง
               ที่ถูกต้องและสามารถควบคุมการไหลของน�้าให้เป็นระเบียบเป็นข้อได้เปรียบของนักว่ายน�้า (AEA,
               2010)
                            รูปที่ 2.5 ทิศทางการไหลแบบแนวกระแส (Streamlined flow)
                                          ที่มา: ดัดแปลงจาก AEA, 2018
                                                                          การออกก�าลังกาย   17
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29