Page 27 -
P. 27

ื
                                        ์
                                           ิ
                                                                                ุ
                           ิ
                                                                       ั
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                     ิ
                                                       ิ
            แรงต้านน้อยกว่า ในขณะที่ท่าทางของมือที่ใช้ในท่าทางการว่ายน�้าส่วนใหญ่ (แบมือท�าเป็นรูปถ้วย
            แบนๆ ปล่อยนิ้วตามสบายห่างเล็กน้อย) เป็นท่าทางของมือที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการดึงน�้า ผู้ที่
                                                                                  �
                                                                                  ้
            เร่มต้นออกกาลังกายในน�าหลายคนไม่สนใจหรือไม่เข้าใจการจัดท่าทางของมือในนา ทาให้ไม่
              ิ
                       �
                                  ้
                                                                                      �
                                                                   �
                                                              ี
                                                  ั
                                                                             �
                      ้
            สามารถใช้นาได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังน้น การสอนผู้ท่ออกกาลังกายในนาถึงการจัดท่าทาง
                      �
                                                                             ้
            ของมือ จะช่วยให้สามารถใช้น�้าในการออกก�าลังกายได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
                      3.5  การปรับความหนักด้วยความเร็ว
                                               ้
                                     �
                                               �
                                                                             ื
                                                                      ื
                                                                   ึ
                                                                ิ
                           ในการออกกาลังกายในนา แรงต้านของนาจะเพ่มข้นเม่อการเคล่อนไหวมีความเร็ว
                                                           ้
                                                           �
            มากข้น ผู้ฝึกสอนหลายท่านท่ไม่คุ้นเคยกับคุณสมบัติของนามักจะใช้ความเร็วเพียงอย่างเดียวใน
                                     ี
                                                             �
                                                             ้
                 ึ
                                        �
                                                         ิ
                                                                                        ึ
                                                                      �
                                                                                     ิ
                  ิ
            การเพ่มความหนักของการออกกาลังกาย แม้ว่าการเพ่มความเร็วจะทาให้มีความหนักเพ่มข้นได้
                                         ี
                                  ี
                                   ี
                                          ี
                                                                    �
                          ั
                                                                      ั
                       ี
            แต่ก็ยังเป็นท่สงสยกันว่าวิธน้เป็นวิธท่จะปรับความหนักของการออกกาลงกายท่มีประสิทธิภาพมาก
                                                                            ี
            ที่สุดแล้วหรือซึ่งการน�าหลักการและกฎต่างๆ ที่ได้อธิบายไปแล้วมาใช้ จะท�าให้การเพิ่มความหนัก
            ในการออกก�าลังกายเป็นไปอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพมากกว่า
                                                                                  ื
                                                                    �
                                         ื
                           วิธีการฝึกกล้ามเน้ออย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดน้น ทาได้โดยการให้เคล่อนไหวเต็ม
                                                                 ั
            ช่วงการเคลื่อนไหว (Full range of motion) แต่การที่จะเคลื่อนไหวต้านแรงต้านของน�้าให้เต็ม
                                                                               ั
                      ื
                                              ี
                                                 ื
            ช่วงการเคล่อนไหวทุกทิศทาง ในขณะท่เคล่อนไหวเหว่ยงแขนขาอย่างรวดเร็วน้นเป็นเร่องยาก
                                                                                     ื
                                                          ี
                                                                                      ื
            นอกจากน้ผู้ออกกาลังกายบางคนยังไม่สามารถรักษารูปแบบการเคลื่อนไหวไว้ได้ เม่อต้อง
                     ี
                            �
            เคล่อนไหวด้วยความเร็วมากพอท่จะเพ่มหรือมีผลต่อความหนักของการออกกาลังกาย ผู้ฝึกสอน
                                        ี
               ื
                                                                            �
                                            ิ
              �
                                            �
                   ี
            จาเป็นท่จะต้องปรับรูปแบบการออกกาลังกายให้เหมาะสมกับความถนัดและรสนิยมของผู้ออก
            กาลังกายแต่ละบุคคล ทางเลือกของผู้ฝึกสอนในการปรับรูปแบบให้เกิดการเคล่อนไหวเต็มช่วงการ
                                                                            ื
              �
            เคลื่อนไหว เช่น การจัดท่าทางของมือ ความยาวของแขนและขา การเพิ่มอัตราเร่งความเร็ว การใช้
            อุปกรณ์เสริมช่วยเพิ่มแรงต้าน และการเคลื่อนที่ของร่างกาย เป็นต้น
                    4. ระบบคาน
                      ระบบคาน(Levers) ในร่างกายมนุษย์ (กระดูกท�าหน้าที่เป็นแขนของคาน ข้อต่อเป็น
                                                                              ั
                                                                       ่
                 ุ
                                     �
                                        ้
              ุ
                                          ิ
                                                                                         ่
                             ื
                         ้
                             ้
                                   ั
                                ็
                                                             ่
                                                                                  ่
            จดหมน และกลามเนอเปนตวทาใหเกดแรง) ทาใหเกดการเคลอนไหวของรางกาย อตราสวนระหวาง
                                                             ื
                                                      ิ
                                                    ้
                                                 �
            ความยาวของแขนของแรงพยายาม (Force arm; ระยะทางจากจุดหมุนถึงจุดของแรงกระทา) และ
                                                                                      �
            แขนของแรงต้านทาน (Resistance arm; ระยะทางจากจุดหมุนไปถึงจุดของแรงต้านทาน) เป็นสิ่ง
                                                                                   ึ
                                                         ี
              ี
                                                                            ี
            ท่จะบอกการได้เปรียบหรือเสียเปรียบเชิงกล แม้การเปล่ยนแปลงในอัตราส่วนน้จะเกิดข้นน้อยมาก
                                               ี
                                            ื
                   �
                                                                  ิ
            ก็มีผลทาให้ขนาดของแรงจากกล้ามเน้อท่ใช้ในการขยับแขนขาเพ่มหรือลดได้ ร่างกายคนเราไม่
            20 การออกก�าลังกาย
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32