Page 22 -
P. 22

ิ
                                           ิ
                                                                                ุ
                                                                       ั
                           ิ
                        ื
                                        ์
                                     ิ
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                        2.3  กฎของแรงปฏิกิริยา
                             กฎข้อที่สามของนิวตัน  กฏของแรงปฏิกิริยา (Law of action and reaction)
               โดยท่วไปแล้วแรงจะถูกอธิบายว่าเป็นการกระทาระหว่างกันของวัตถุสองส่ง นิวตันค้นพบว่า
                                                                               ิ
                                                        �
                    ั
               แรงเกิดขึ้นเป็นคู่ ตัวอย่างเช่น คุณไม่สามารถเล่นชักเย่อได้ ถ้าไม่มีผู้เล่นที่อีกปลายหนึ่งของเชือก
                            ี
               เพราะไม่มีแรงท่คุณต้องดึงสู้ด้วยและเชือกก็ไม่ตึง ถ้าคุณต้องการเล่นชักเย่อคนเดียวก็อาจทาได้
                                                                                           �
                                             ื
                                                                                         �
               โดยผูกอีกปลายของเชือกไว้กับเสาเพ่อให้มีแรงดึงสู้กัน อีกตัวอย่างก็คือ การออกแรงผลักกาแพง
               เมื่อคุณผลักก�าแพงก็จะมีแรงที่เท่ากันผลักตอบกลับมา ฉะนั้นแรงจะเกิดขึ้นเป็นคู่ และนิวตันก็ได้
               ตั้งชื่อแรงคู่นี้ว่า “แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา”

                              ในสภาพแวดล้อมที่มีความหนืด เช่น ในน�้า กฎของแรงปฏิกิริยายิ่งเห็นได้ชัดขึ้น
                 ื
                                   �
               เม่อถีบเท้าลงท่ก้นสระนาจะเกิดแรงปฏิกิริยาผลักให้ตัวของคุณลอยข้น ยิ่งใส่แรงกระทาหรือแรง
                            ี
                                                                                      �
                                                                        ึ
                                   ้
                                                                ึ
               กิริยาลงไปมากเท่าไหร่แรงปฏิกิริยาท่ตอบกลับมาก็จะมากข้นเท่าน้น (แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
                                                                      ั
                                             ี
                            ื
               มีความเก่ยวเน่องกับความเร่ง แต่ความเร่งจะพูดถึงขนาดของแรง ในขณะที่แรงกิริยาและแรง
                       ี
               ปฏิกิริยาจะพูดเกี่ยวกับการจับคู่ของแรง) ดังนั้น ยิ่งถีบพื้นสระว่ายน�้าแรงเท่าไหร่ ตัวคุณก็จะลอย
               ขึ้นมาสูงขึ้นเท่านั้น ที่กล่าวมานั้นไม่ใช่เป็นลักษณะที่เกิดเฉพาะในน�้า แต่แรงปฏิกิริยาเดียวกันนี้ ก็
                                              ี
                                    ื
               เกิดข้นเม่อถีบเท้าลงบนพ้น ในสภาพท่มีอากาศล้อมรอบตัวเช่นกัน เพียงแต่ว่าคุณสมบัติเฉพาะของ
                   ึ
                       ื
                                                                     ื
               นาทาให้เราเห็นการเกิดแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาได้ในทุกการเคล่อนไหว ซ่งในอากาศน้นบางการ
                   �
                                                                            ึ
                 ้
                 �
                                                                                      ั
               เคลื่อนไหวเราไม่สามารถเห็นได แต่ในน�้าที่มีความหนืดมากกว่าอากาศ เมื่อกวาดแขนในน�้าไปทาง
                                         ้
               ซ้าย (แรงกิริยา) จะรู้สึกถึงผลลัพธ์ได้ว่าร่างกายจะเคลื่อนไปทางขวา (แรงปฏิกิริยา) เมื่อผลักแขน
               ไปด้านหน้า (แรงกิริยา) ร่างกายก็จะถูกผลักไปทางด้านหลัง (แรงปฏิกิริยา)
                              แขนและขาสามารถท่จะใช้เป็นตัวช่วยหรือตัวขัดขวางการเคล่อนไหวในขณะท ี ่
                                               ี
                                                                                ื
               เคลื่อนที่ไปในน�้าก็ได้ ท่าทางของการดึงมือจากด้านหน้าไปด้านหลังเหมือนการว่ายน�้าท่าฟรีสไตล์
                                                    �
                                                                                    ื
                                                                                        ี
               (Front crawl arms) หรือการใช้มือกวาดนาไปด้านหลังเป็นการช่วยให้ร่างกายเคล่อนท่ไปด้าน
                                                    ้
               หน้า ในทางกลับกันการดึงมือจากหลังมาหน้า (Back crawl arms) หรือการใช้มือกวาดน�้าไปด้าน
                                                                                      ี
                                                     ื
               หน้า ก็ช่วยในการเคล่อนไปด้านหลัง การเคล่อนไหวของแขนและขาร่วมกันสามารถท่จะช่วยส่ง
                                 ื
                                        ี
                                                                                             �
                                    ื
               เสริมหรือขัดขวางการเคล่อนท่ไปยังทิศทางท่ต้องการได้ การผลักแขนท้งสองข้างท่วางอยู่หน้าลา
                                                    ี
                                                                          ั
                                                                                   ี
               ตัวไปด้านหน้า พร้อมกับวิ่งเหยาะไปข้างหน้า ท�าให้การเคลื่อนที่ไปด้านหน้านี้มีความหนักมากขึ้น
               หรือยากขึ้น แรงปฏิกิริยาจากการดันแขนไปด้านหน้าท�าให้ร่างกายเคลื่อนไปด้านหลัง จะต้านกับ
               แรงปฏิกิริยาจากการที่เท้าดันพื้นสระว่ายน�้าเพื่อให้ร่างกายเคลื่อนไปด้านหน้า
                                                                          การออกก�าลังกาย   15
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27