Page 17 -
P. 17
ุ
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
์
ั
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
2.1.1 ความเฉื่อยของทั้งร่างกาย
่
แรงเฉอยของทงร่างกาย (Total Body Inertia) สามารถทาให้เก ิ
�
ั
ื
้
ี
�
ดความหนักขณะออกกาลังกายได้ ถ้าการเคล่อนตามรูปแบบการเต้นท่ได้มีการออกแบบโปรแกรม
ื
ี
ิ
ื
การเคล่อนไหวของร่างกายจากการเร่ม หรือหยุด หรือเปล่ยนแปลงรูปแบบและทิศทางการ
�
ื
ั
เคล่อนไหวน้น จะใช้แรงมากกว่าการเคล่อนไหวซาๆ อย่างต่อเน่อง เช่น การว่งเหยาะๆ ไปข้างหน้า
ื
้
ื
ิ
16 ก้าว แล้ววิ่งถอยหลัง 16 ก้าว ต้องใช้แรงในการเริ่มวิ่งไปข้างหน้า หยุดวิ่ง เปลี่ยนทิศทางเป็นวิ่ง
ึ
ี
ื
ิ
ิ
ถอยหลัง และหยุดว่ง ประกอบกับมีแรงเฉ่อยของแขนขาท่เกิดข้นด้วย เม่อเทียบกันกับการว่งไป
ื
ข้างหน้า 8 ก้าว แล้วถอยหลัง 8 ก้าว แล้วไปข้างหน้าอีกครั้ง 8 ก้าว แล้วถอยหลังอีกครั้ง 8 ก้าว
ั
ี
�
ท่มีจานวนก้าวเท่ากันน้น แบบหลังจะมีความหนักมากกว่า เน่องจากต้องใช้แรงหรือพลังงานในการ
ื
หยุดและเปล่ยนทิศทางการว่งมากกว่าในแบบแรกถึงสองเท่า เช่นเดียวกันกับการว่งโดยไปข้างหน้า
ี
ิ
ิ
4 ก้าว ถอยหลัง ไปซ้าย ไปขวา และวิ่งอีก 8 ก้าวเป็นวงกลมรอบตัว ก็เป็นการเพิ่มความหนักของ
การออกก�าลังกายขึ้นไปอีก โดยการที่ต้องใช้แรงที่จะไปหักล้างกับแรงเฉื่อยในขณะเริ่ม ขณะหยุด
และขณะที่เปลี่ยนทิศทางมากขึ้น
2.1.2 ความเฉื่อยของน�้า
้
�
ื
�
้
�
ี
ั
ั
ความเฉ่อยของนา (Water’s Inertia) ผู้ท่ออกกาลังกายในนาท้งช้นเรียน
เมื่อเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน ทิศทางหนึ่งทิศทางใดแล้วหมุนตัวกลับ ผู้ออกก�าลังกายทั้งกลุ่ม
จะรู้สึกเหมือนเดินทวนนา ท้งน้เป็นเพราะการเคล่อนท่ของกลุ่ม ทาให้นาเคล่อนท่ไปในทิศทางเดียว
�
้
ื
ื
ี
้
ั
�
�
ี
ี
กับกลุ่มด้วย แต่เมื่อท้งกลุ่มหันกลับแรงเฉ่อยของนายังคงเคล่อนท่ในทิศทางและความเร็วเดิม
ี
ื
ื
ั
�
้
ั
ี
ื
้
ื
้
�
กล่าวคือคนท้งกลุ่มหันกลับแต่นายังเคล่อนท่ต่อไปในทิศทางเดิมเกิดเป็น “แรงเฉ่อยของนา”
�
ื
ึ
�
ซ่งสามารถนามาใช้เพ่มความหนักของการออกกาลังกายได้ เม่อมีการก้าวไปข้างหน้าเป็นเส้นตรง
�
ิ
หลายๆ ก้าว นาจะเร่มเคล่อนท่ไปในทิศทางน้นๆ เม่อมีการเปล่ยนทิศทางของร่างกาย น่นคือ
ั
ี
ิ
ื
ื
ั
้
ี
�
�
การพยายามท่จะหยุดและเปล่ยนทิศทางของนาให้ไปในทิศทางเดียวกับร่างกาย จึงเป็นผลให้ไป
ี
ี
้
เพิ่มความหนักของการออกก�าลังกายได้ การเดินหรือวิ่งเหยาะๆ ไปกลับในน�้านั้น ไม่ได้ใช้แค่แรงที่
ั
ี
ื
จะมาหักล้างแรงเฉ่อยของร่างกายเท่าน้น แต่ต้องใช้แรงเพ่มมากข้นกว่าการทาแบบเดยวกันบนบก
ึ
ิ
�
ั
ื
�
้
ี
เพราะต้องมีแรงท่จะมาหักล้างกับแรงเฉ่อยของนาด้วย ดังน้น การออกแบบท่าเต้น หรือท่าทางการ
ออกก�าลังกายในน�้าให้มีการเคลื่อนที่ไปมา และมีการเปลี่ยนทิศทางบ่อยๆ จะเป็นการเพิ่มการใช้
พลังงาน เนื่องจากจะไปเพิ่มแรงเฉื่อยของร่างกายและแรงเฉื่อยของน�้าให้มากขึ้น
10 การออกก�าลังกาย