Page 16 -
P. 16
ิ
ิ
ิ
์
ื
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ั
ิ
�
ื
้
�
ในขณะออกกาลังกายในนาการเคล่อนไหวร่างกายหรือส่วนของร่างกายจะได้รับผลกระ
้
�
ทบจากแรงตานทานของนา แรงลอยตวของนา และแรงดนใตนา งานวจยเกยวกบการเคลอนทของ
ี
ั
ิ
้
้
�
ั
�
้
ั
้
ี
ั
่
ื
่
่
้
ื
�
ข้อต่อในขณะเดินในสระว่ายนา แสดงให้เห็นว่าผู้ท่ออกกาลังกายในนาจะมีช่วงการเคล่อนไหวของ
ี
�
�
้
ขอตอ (range of motion) เพมขึนรอยละ 30 เมอเปรยบเทยบกบการเดนบนบก ชวงการเคลอนไหว
่
่
ิ
้
้
ื
่
่
ั
ิ
้
่
ี
ื
ี
ู
่
ุ
ิ
ั
ู
ของข้อต่อท่เพ่มขนเป็นประโยชน์ในการรกษา และเป็นประโยชน์ต่อผ้สงอาย โดยสามารถเพมความ
ึ
้
ี
ิ
แข็งแรงของสมรรถภาพด้านต่างๆ ตลอดจนความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อและข้อต่อ (AEA, 2018)
2. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ื
ี
กฎการเคล่อนท่ของนิวตัน (Newton’s Laws) เซอร์ ไอแซก นิวตัน เป็น
ื
่
ี
ี
ื
นักวิทยาศาสตร์ในสมัยศตวรรษท 17 ท่มีช่อเสียงในการศึกษากฎของแรงโน้มถ่วงและการเคล่อนท ี ่
ี
เขาได้นาแนวคิดเก่ยวกับการเคล่อนท่มาจากกาลิเลโอ และคิดค้นจนพบกฎเพ่อมาอธิบายเร่อง
ื
ื
ี
ื
�
การเปลยนทศทางการเคลอนทได้อย่างเป็นระบบ การออกแรงเพอเคลอนย้ายวตถต่างๆ การ
ิ
ื
่
ุ
ั
่
ื
่
ี
่
ี
ื
่
เคลื่อนไหวของร่างกาย การเปลี่ยนทิศทาง การยืนตัวตรง และการเคลื่อนที่ต้านแรงดึงดูดของโลก
ซึ่งสามารถที่จะวิเคราะห์แรงที่ท�าให้เกิดการเคลื่อนที่ได้ โดยใช้กฎสามข้อของเซอร์ ไอแซก นิวตัน
นั่นคือ กฎของความเฉื่อย กฎของความเร่ง และกฎของแรงปฏิกิริยา (ทวี และ มนู, 2541) ดังนี้
2.1 กฎของความเฉื่อย
กฎของความเฉ่อย (Law of Inertia) ได้กล่าวไว้ว่า “วัตถุจะคงอยู่น่งกับท่ตราบ
ี
ื
ิ
ี
�
ใดท่ไม่มีแรงมาทาให้มันเคล่อนท และเมื่อมีแรงท่มากกว่าแรงต้านหรือแรงเสียดทานมากระทา วัตถ ุ
ี
ื
ี
่
�
จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไปในทิศทางตามที่ได้รับแรง ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ในทิศทาง
ใดทิศทางหน่งจะต้องมีแรงมากระทาจึงจะเกิดการเปล่ยนแปลงในความเร็วหรือทิศทางได้”
ึ
ี
�
ี
แรงท่ทาให้เกิดการต่อต้านการเปล่ยนแปลงของสภาพการเคลื่อนท่น้เรียกว่า แรงเฉ่อยของวัตถ ุ
ื
ี
ี
�
ี
ี
ี
(AEA, 2018) มวลของวัตถุมีผลต่อปริมาณแรงท่ต้องใช้ในการเปล่ยนแปลงความเร็วหรือทิศทาง
ุ
�
ของวัตถ ดังน้นแรงเฉ่อยจะสัมพันธ์กับมวล นาหนักของวัตถ และแรงโน้มถ่วงของโลกท่กระทา
�
ุ
้
ั
ี
ื
ี
ต่อมวลของวัตถ ท�าให้เกิดแรงท่ต้านการเปล่ยนแปลงความเร็วหรือทิศทาง ดังน้นวัตถุที่มีมวล
ี
ั
ุ
มากกว่าจะต้องใช้แรงกระท�าที่มากกว่า เพื่อมาหักล้างกับแรงเฉื่อยของตัวมันเอง
�
้
่
ี
�
ื
ื
ี
ิ
�
สาหรับการออกกาลังกายในนา โดยพ้นฐานแล้ว มีวัตถุอยู่สามส่งท่เคล่อนท และ
มีผลกระทบตามกฎของความเฉื่อย นั่นคือ การเคลื่อนที่ของทั้งร่างกาย (แรงเฉื่อยของทั้งร่างกาย)
การเคลื่อนที่ของน�้า(แรงเฉื่อยของน�้า) และการเคลื่อนที่ของแขนขา (แรงเฉื่อยของแขนขา)
การออกก�าลังกาย 9