Page 11 -
P. 11
์
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
ั
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
้
ั
�
้
ื
�
�
4.6 อุณหภูมิของนา การออกกาลังกายในนาเพ่อส่งเสริมสุขภาพโดยท่วไป อุณหภูม ิ
ของน�้าประมาณ 25-32 องศาเซลเซียส หากอุณหภูมิของน�้าสูงมากเกินไป จะท�าให้ผู้ที่ออกก�าลัง
ื
ื
กายมีอาการ วิงเวียนศรีษะ หายใจหอบเหน่อย และอาจเป็นลมได้ เน่องจากร่างกายไม่สามารถ
ระบายความร้อนได้ดี ส�าหรับอุณหภูมิของน�้าที่เหมาะสมส�าหรับกิจกรรมต่างๆ มีดังนี้
4.6.1 การออกก�าลังกายในน�้าเพื่อสุขภาพ : 26-29 องศาเซลเซียส
4.6.2 การออกก�าลังกายในน�้าส�าหรับนักกีฬา : 26-29 องศาเซลเซียส
4.6.3 การออกก�าลังกายในน�้าส�าหรับสตรีมีครรภ์ : 28-29 องศาเซลเซียส
4.6.4 การออกก�าลังกายในน�้าส�าหรับเด็กทารก : 30-32 องศาเซลเซียส
4.6.5 การออกก�าลังกายในน�้าส�าหรับผู้สูงอายุ : 28-31 องศาเซลเซียส
4.6.6 การออกก�าลังกายในน�้าเพื่อฟื้นฟูข้ออักเสบ : 28-32 องศาเซลเซียส
4.6.7 การออกก�าลังกายในน�้าเพื่อยืดกล้ามเนื้อและผ่อนคลาย : 29-32 องศา
เซลเซียส
4.7 หากมีอาการผิดปกต เช่น หน้ามืด เวียนศรีษะ หัวใจเต้นเร็วผิดปกต หายใจไม่ทัน
ิ
ิ
ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวได้ ให้หยุดออกก�าลังกายทันที
้
ื
้
�
้
�
�
�
4.8 นาด่ม เพื่อเป็นการป้องกันภาวะขาดนาของร่างกายขณะออกกาลังกายในนา ควร
ดื่มน�้าทั้งก่อน ระหว่าง และหลังออกก�าลังกายอย่างเพียงพอ
4.9 เทคนิคในการเคลื่อนไหว แขน ขา การออกก�าลังกายในน�้าที่เทคนิคเฉพาะ เช่น
�
้
ึ
ึ
�
ี
้
�
จะไม่เคล่อนไหวแขนพ้นจากระดับนาท่ออกกาลังกายแล้วยกข้นเหนือศรีษะ(ยกแขนข้นจากในนา
ื
�
ึ
้
้
ข้นในอากาศ) ท้งน้เพราะความเร็วในการเคล่อนท่ของแขนท่อยู่ในนาและเม่อพ้นนาไม่เท่ากัน อาจ
ื
�
ี
ี
ี
ื
ั
ท�าให้เกิดการบาดเจ็บได้ นอกจากนี้ทิศทางการเคลื่อนไหวของแขนและขาควรที่จะอยู่ตรงข้ามกัน
เช่น ยกขาซ้ายไปด้านหลัง แขนต้องยกขึ้นด้านหน้า
4.10 ส�าหรับผู้ฝึกสอน ควรปฏิบัติดังนี้
4.10.1 ในกรณีที่ท�าการสอนบริเวณข้างขอบสระ ผู้ฝึกสอนควรสวมรองเท้า
ผ้าใบ หรือ มีแผ่นยางสังเคราะห์ปูพ้น เพ่อลดแรงกระแทกท่เกิดจากการกระโดดขณะท่มีการสาธิต
ี
ื
ื
ี
ท่าทางการออกก�าลังกาย
ื
4.10.2 มีความรู้ในเร่องการปฐมพยาบาลและการกู้ชีวิต (CPR: Cardiopul-
monary Resuscitation) โดยจะต้องผ่านการอบรมการปฐมพยาบาลและการกู้ชีวิต เพื่อให้การ
ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินได้ทันท่วงที
4 การออกก�าลังกาย