Page 14 -
P. 14
ิ
ั
ิ
์
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
ิ
ื
บทที่ 2
หลักการทางฟิสิกส์ของน�้า
�
ผู้ฝึกสอนการออกกาลังกายในนา มีความจาเป็นต้องทราบถึงการตอบสนองต่อการ
้
�
�
เคลื่อนไหวในน�้าที่แตกต่างจากการเคลื่อนไหวบนบกที่เป็นผลมาจากแรงโน้มถ่วงของโลก ส�าหรับ
ื
ื
�
้
ั
การเคล่อนไหวในนา ระดับของการออกแรงน้นเป็นความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วในการเคล่อนไหว
กับอัตราการเปล่ยนแปลงของความเร็ว (ความเร่ง) พ้นท่ผิว (แรงต้าน) ในทิศทางท่มีการเคล่อนไหว
ี
ี
ื
ื
ี
�
ี
ี
�
แรงเฉ่อยของผู้ออกกาลังกาย แรงเฉ่อยของนา และจานวนคร้งท่ทาการเปล่ยนทิศทาง ดังน้น
้
�
ั
�
ื
ื
ั
การสอนการออกกาลังกายในนาหากผู้สอนมีความคุ้นเคยกับกฎทางฟิสิกส์และคุณสมบัติของนา
้
�
�
�
้
ึ
จะช่วยให้การสอนมีประสิทธิภาพมากข้น และผู้ออกกาลังกายจะได้รับประโยชน์สูงสุดจากการเข้า
�
ร่วมโปรแกรมการออกก�าลังกาย จึงจ�าเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบส�าคัญเหล่านี้
้
�
�
หลักการทางฟิสิกส์ ที่ถูกนามาประยุกต์ใช้ในการออกกาลังกายในนา ได้แก่ หลักการ
�
ื
เคล่อนไหว กฎการเคล่อนท่ของนิวตัน คุณสมบัติของความหนืด (แรงต้าน) คุณสมบติของแรงลอยตัว
ี
ั
ื
หลักการของคาน แรงต้านท่เกิดจากพ้นท่ผิว เป็นต้น กฎและคุณสมบัติเหล่าน้สามารถนาไปใช้เพ่อ
�
ื
ี
ี
ื
ี
ิ
เพ่มประสทธิภาพให้กับการออกกาลังกายในนา เช่น การเต้นแอโรบิก สเต็ปแอโรบิกในนา การเดิน
้
ิ
�
�
�
้
้
�
ในนา การฝึกสอนแบบตัวต่อตัว การบาบัดด้วยน�า และการฝึกทักษะกีฬาเฉพาะอย่าง เป็นต้น ราย
้
�
ละเอียดดังนี้
1. หลักการเคลื่อนไหว
ื
ี
ึ
หลักการเคล่อนไหว (Motion Principle) การเคลื่อนท่เกิดข้นเม่อมีการเปล่ยน
ี
ื
ึ
้
�
ี
�
ื
ึ
ึ
ตาแหน่งจากจุดหน่งไปยังอีกจุดหน่ง การเคล่อนท่ของร่างกายในนาเกิดจากการออกแรง ซ่งมีความ
้
�
ี
ื
ี
สัมพันธ์กับการเคล่อนท่ของนาและส่งผลต่อความหนักในการออกแรงด้วย การเคลื่อนท่ของร่างกาย
ื
ี
ั
เป็นได้ท้งการเคล่อนท่ในแนวเส้นตรง (เช่น เคล่อนไปข้างหน้า ข้างหลัง ซ้ายหรือขวา) หรือ
ื
ื
การเคล่อนไหวของร่างกายในท่าทางต่างๆ แบบหมุนหรือตามการเคล่อนไหวของข้อต่อ (เช่น
ื
ื
การงอตัว การยืดตัว หรือการกางแขนกางขา) การเคล่อนท่แบบหลังน้จะแตกต่างจากการเคล่อนท ี ่
ี
ื
ี
ในแนวเส้นตรง ที่ร่างกายทั้งหมดจะเคลื่อนไปในระยะทางเท่าๆ กัน แต่ถ้าร่างกายเคลื่อนที่โดยมี
ี
ื
การงอหรอเหยยดข้อต่อ ส่วนของร่างกายจะเคลอนไหวไปในระยะทางท่แตกต่างกน เช่น ถ้าเหยียด
่
ื
ั
ี
เข่า ส่วนเท้าจะเป็นส่วนท่มีการเคล่อนท่ไปไกลท่สุด (รูปท 2.1) ท�าให้เพ่มความสามารถในการ
ี
ี
ี
ี
ื
่
ิ
ื
ื
�
ึ
ทางานของกล้ามเน้อ ซ่งจะข้นอยู่กับระยะทางในการเคล่อนไหว การออกแรงของกล้ามเน้อ ทิศทาง
ื
ึ
ที่กระท�า และองศาในการเคลื่อนไหวของข้อต่อ
การออกก�าลังกาย 7