Page 19 -
P. 19
ิ
ิ
ั
์
ื
ิ
ิ
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
�
ั
การออกกาลงกาย เพอให้บรรลเป้าหมายและเหมาะกบความสามารถของผ้ทออกกาลังกายเป็น
่
ื
ี
ั
่
ู
�
รายบุคคลได้เป็นอย่างดี
2.2 กฎของความเร่ง
กฎข้อที่สองของนิวตัน คือ กฎของความเร่ง (Law of acceleration) ซึ่งเกี่ยว
ี
ื
ั
ี
�
ุ
กับการท่เม่อมีแรงมากระทาต่อวัตถ วัตถุน้นจะเปล่ยนทิศทางหรือมีความเร็วได้เร็วแค่ไหน
ี
ี
“ความเร่ง” คือ ความรวดเร็วในการเปล่ยนแปลงความเร็วหรืออัตราการเปล่ยนแปลงความเร็ว
ิ
ั
ิ
�
เป็นตัวกาหนดความสมพันธ์ระหว่างแรงและความเร่ง โดยเฉพาะอย่างย่งแรงในแนวด่งท่กระทาต่อ
�
ี
วัตถุในระยะห่างที่เท่ากันนั้น มากขึ้นเท่าไหร่ วัตถุก็จะยิ่งเคลื่อนที่ไปสูงขึ้นเท่านั้น (อธิบายได้ด้วย
สมการ แรง = มวล x ความเร่ง หรือ F = ma) หรือพูดแบบง่ายๆ ว่า ยิ่งออกแรงถีบพื้นสระว่าย
น�้าแรงเท่าไหร่ ก็จะยิ่งกระโดดได้สูงขึ้นเท่านั้น ผู้ฝึกสอนสามารถเพิ่มความหนักของการออกก�าลัง
กายจากกฎของความเร่งได้ โดยให้มีการออกแรงกระท�าต่อพื้นสระว่ายน�้ามากขึ้น เพื่อให้กระโดด
สูงขึ้นในจังหวะความเร็วเท่าเดิม
�
ั
ี
้
้
ี
วตถทมนาหนกมากกว่าจะมมวลมากกว่าและขนไปไม่ได้สงเท่าวตถทเบากว่า
ู
ึ
ี
ุ
่
ั
ั
ี
่
ุ
เมื่อมีแรงมากระท�าเท่ากัน หรือพูดอีกอย่างว่าคนที่มีน�้าหนักตัวมากกว่าจะกระโดดได้ไม่สูงเท่ากับ
คนที่มีน�้าหนักตัวน้อยกว่า เมื่อทั้งสองคนออกแรงเท่ากัน ถ้าคนที่มีน�้าหนักมากกว่าจะกระโดดให้
้
�
ได้สูงเท่ากับคนนาหนักน้อย เขาจะต้องออกแรงมากกว่า เพ่อท่จะเคล่อนมวลท่มากกว่าให้ได้ความ
ี
ื
ี
ื
้
ึ
ี
ื
ี
สูงเท่ากัน การเปล่ยนแปลงการเคล่อนไหวหรือความเร่งน (การกระโดดขึ้น) ข้นอยู่กับขนาดของ
แรงที่มากระท�าและมวลของวัตถุ (อธิบายได้ด้วยสมการ ความเร่ง = แรงหารด้วยมวล หรือ a =
�
F/m) ครูผู้ฝึกสอนควรตระหนักด้วยว่าผู้ท่ออกกาลังกายไม่ได้มีมวลและความสามารถในการ
ี
ื
ออกแรงกล้ามเน้อเท่ากันทุกคน คนที่มีกล้ามเน้อมากแม้จะมีมวลมาก แต่ก็ยังสามารถท่จะออกแรง
ี
ื
ี
ี
ี
ื
ี
ได้มากพอท่จะเคล่อนมวลท่มากน้ได้ ซ่งในคนท่มีความผิดปกติของร่างกายและคนท่มีไขมันมาก
ี
ึ
อาจไม่สามารถออกแรงกล้ามเนื้อเพียงพอที่จะกระโดดขึ้นได้
นอกจากน ความเร่ง คือ การท่จะเคล่อนมวลขนาดเท่ากันให้ไปได้ไกลกว่าใน
ี
ื
้
ี
ิ
�
ื
ระยะเวลาเท่ากันจะต้องใช้แรงจากกล้ามเน้อท่มากกว่า แนวคิดน้เป็นประโยชน์สาหรับการเพ่ม
ี
ี
ความหนักของการออกก�าลังกาย โดยที่ไม่จ�าเป็นต้องเร่งจังหวะการเคลื่อนไหวให้เร็วขึ้น ตัวอย่าง
�
ื
เช่น การกระโดดไปทางขวา 1.8 เมตร (6 ฟุต) ทุกจังหวะของเพลง ต้องใช้แรงของกล้ามเน้อทางาน
หนักกว่าการกระโดด 0.9 เมตร (3 ฟุต) ในทุกจังหวะของเพลง (รูปที่ 2.2) ดังนั้น อีกทางเลือก
�
ี
ึ
ิ
�
หน่งท่จะเพ่มความหนักในการออกกาลังกายโดยใช้กฎของความเร่ง คือ การกระตุ้นให้ผู้ท่ออกกาลัง
ี
กายเคลื่อนที่ไปให้ไกลขึ้น (กระโดดไกลขึ้นหรือก้าวเท้าให้กว้างขึ้น) ในแต่ละจังหวะ เพื่อให้มีการ
ใช้แรงจากกล้ามเนื้อให้มากขึ้น
12 การออกก�าลังกาย