Page 29 -
P. 29
ิ
ิ
ื
ั
์
ุ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
้
ื
้
้
�
่
่
การเคลอนไหวโดยใชคานยาวสามารถใชเพมความหนักของการออกกาลังกายในนาได ้
�
แต่แนะน�าว่า ควรเริ่มหรืออบอุ่นร่างกายจากคานที่สั้นกว่าก่อน และค่อยๆ ใช้คานที่ยาวขึ้น เพื่อ
่
ี
�
ี
ั
ู
�
หลกเลยงไม่ให้เกิดการบาดเจบในข้อต่อ สาหรบผ้ฝึกสอนส่วนใหญ่จะนาการออกกาลงกายในนา
็
้
ั
�
�
ที่มีการใช้คานที่ยาวขึ้นในช่วงการออกก�าลังกายที่ต้องความหนักสูง อย่างไรก็ดีแม้ว่าการเพิ่มแขน
ของคานจะเป็นการเพ่มความหนักของการออกกาลังกายได้ แต่การท่แขนขาถูกล็อกหรือการยืด
�
ี
ิ
ี
ข้อตอท่เกนกว่าช่วงปกต (Hyperextended) ก็ไม่ก่อให้เกิดผลด ควรให้ข้อต่อแขนขาได้งอเล็กน้อย
ิ
ิ
่
ี
ิ
�
จะทาให้การฝึกได้ประโยชน์จากการสร้างกระแสนาวน ซ่งจะทาให้ไปเพ่มการไหลวนของนา
�
้
�
ึ
�
้
นอกจากนี้ การงอข้อต่อเล็กน้อยยังช่วยลดโอกาสที่จะเกิดการบาดเจ็บลงได้
5. แรงลอยตัว
หลักการของอาร์คีมีดีส อธิบายคุณสมบัติของน�้าในเรื่องของแรงลอยตัว เมื่อยืนอยู่ใน
น�้าเราจะอยู่ภายใต้แรงสองแรงที่ต้านกันอยู่ คือ แรงแนวดิ่งที่มีทิศทางลงเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของ
ื
ึ
ึ
โลก และแรงแนวด่งท่มีทิศทางข้นเน่องจากแรงลอยตัว (Buoyancy) ขนาดของแรงลอยตัวน้จะข้น
ิ
ี
ี
้
�
่
�
ื
ั
้
่
ั
ู่
ี
ู่
ั
ี
อยกบขนาดและความหนาแน่นหรอนาหนักของวตถุทจมอยใน เน่องจากนาหนักของวตถุทหายไป
ื
เท่ากับน�้าหนักของน�้าที่วัตถุนั้นเข้าไปแทนที่ อย่างไรก็ตามความแตกต่างระหว่างน�้าหนักของน�้าที่
ไปแทนที่กับน�้าหนักของร่างกายอาจจะต่างกันไม่มาก ถ้าน�้าหนักของร่างกายมากกว่าน�้าหนักของ
ี
ั
ั
�
ี
�
้
�
้
นาท่ถูกแทนท่คนคนน้นก็จะจมนา แต่ถ้าน�าหนักของร่างกายน้อยกว่านาหนักของนา คนน้นก็จะ
้
้
้
�
ลอย คนส่วนใหญ่จะลอยท่ระดับต่างๆ กันข้นอยู่กับขนาดของร่างกาย ความหนาแน่น ความจุปอด
ึ
ี
และปริมาณร้อยละของไขมันในร่างกาย มีคนเพียงจ�านวนน้อยเท่านั้น ที่ถือได้ว่าเป็นคนที่จมลงใน
น�้าอย่างแท้จริง
ส�าหรับการออกก�าลังกายในน�้า แรงลอยตัวให้ประโยชน์หลายประการ ได้แก่ ช่วยลด
ี
ผลกระทบจากแรงโน้มถ่วงของโลก ลดการรับนาหนัก และลดแรงกดท่มีต่อข้อต่อ หลายคนท่ไม่
ี
�
้
สามารถออกก�าลังกายบนบกได้ เนื่องจากมีน�้าหนักตัวที่มากเกินไป ก็สามารถจะออกก�าลังกายได้
อย่างสบายและกระฉับกระเฉงเมื่ออยู่ในน�้า ขนาดของแรงลอยตัวนั้น ก็ขึ้นอยู่กับความลึกของการ
จมลงในนาด้วย เพราะเม่อจมลงในนาลึกข้น ก็จะมีปริมาตรท่จะถูกแทนท่ด้วยนาได้มากข้น ร่างกาย
ี
ึ
ื
ึ
้
�
�
้
�
ี
้
ที่จมลงในน�้าถึงระดับคอ ระดับอก และระดับเอว จะมีน�้าหนักที่กระท�าต่อข้อต่อ ประมาณร้อยละ
ั
�
้
ึ
ี
10 ร้อยละ 25-35 และร้อยละ 50 ของน�าหนักตัวตามลาดับ ท้งน้ข้นอยู่กับองค์ประกอบของร่างกาย
�
ื
ื
ี
และเพศด้วย คนส่วนใหญ่รู้สึกสบายเม่อออกกาลังกายท่นาลึกระดับอกหรือรักแร้ เน่องจากยัง
้
�
ี
้
�
ี
สามารถรับรู้ถึงนาหนักของร่างกายท่มากพอท่จะควบคุมการเคล่อนไหวได้ ดังน้น โปรแกรมการ
ื
ั
�
ออกกาลังกายในนาต้นจึงนิยมนาลึกท่ระดับอก แรงลอยตัวช่วยให้การทากิจกรรมต่างๆ ในนา
้
�
้
�
ี
�
�
้
ื
22 การออกก�าลังกาย