Page 34 -
P. 34

์
                                           ิ
                                                       ิ
                        ื
                           ิ
                                     ิ
                                                                       ั
                                                                                ุ
    โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                   บทที่ 3
                                    การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย


                        หลักการเสริมสร้างสมรรถภาพของร่างกาย ประกอบองค์ความรู้ท่เก่ยวข้องกับ
                                                                                     ี
                                                                                   ี
                                                    �
                                                                                          ึ
                                                                                �
                                         �
                                  �
               สมรรถภาพทางกาย คาแนะนาในการออกกาลังกาย ประโยชน์ของการออกกาลังกาย ซ่งการ
               ออกแบบโปรแกรมการออกก�าลังกายทั่วไป หรือการออกก�าลังกายในน�้าใช้หลักการเดียวกันดังนี้
                        1.  สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) หมายถึง ความสามารถในการท�างาน
               ของส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพื่อประกอบอาชีพ กิจวัตรประจาวัน กิจกรรมนันทนาการ โดย
                                                                    �
               ปราศจากความเมื่อยล้า ซึ่งวัดได้จากระดับความสามารถที่ส่วนต่างๆ ในร่างกายท�างานได้ คนที่มี
                                                                 ี
               ระดับสมรรถภาพทางกายสูงจะมีความสามารถของร่างกายท่จะทาส่งต่างๆ ได้ท่ระดับพอเหมาะ
                                                                     �
                                                                       ิ
                                                                                 ี
                                                                           ่
                                                                           �
                                                                          ี
               และมีประสิทธิภาพ ในทางกลับกัน คนที่มีระดับสมรรถภาพทางกายท่ตา ร่างกายก็จะอ่อนแอ
               ไม่แข็งแรง หรือมีข้อจ�ากัดที่จะส่งผลให้ร่างกายไม่สามารถท�างานในระดับที่พอเหมาะได้
                          สมรรถภาพทางกาย สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์
               กับสุขภาพ (Health-Related Physical Fitness) และ สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับทักษะ
               (Skill-Related Physical Fitness) โดยแต่ละประเภทของสมรรถภาพทางกาย จะมีองค์ประกอบ

               ในด้านต่างๆ ที่แตกต่างกัน

                           1.1  สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ

                                                        ี
                                                      ี
                               เป็นสมรรถภาพทางกายท่เก่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ และช่วยเพิ่ม
                                                                          ี
                                                                              ี
               ประสิทธิภาพการทางานของร่างกาย ซ่งจะมีส่วนช่วยในการลดปัจจัยเส่ยงท่จะเกิดโรคต่างๆ ได้
                               �
                                                ึ
               เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดและหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และโรคปวดหลัง เป็นต้น
               องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายท่สัมพันธ์กับสุขภาพ ประกอบด้วยสมรรถภาพทางกาย
                                                ี
               5 ด้าน คือ ความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ (Cardiorespiratory endurance) ความแข็ง
               แรงของกล้ามเน้อ (Muscular strength) ความอดทนของกล้ามเน้อ (Muscular endurance)
                            ื
                                                                       ื
               ความอ่อนตัว (Flexibility) และองค์ประกอบของร่างกาย (Body composition) ผู้ฝึกสอนการ
               ออกก�าลังกายต้องเข้าใจองค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพทั้งหมด เพื่อที่
                                                                                            ั
               จะสามารถออกแบบโปรแกรมการออกกาลังกายสาหรับพัฒนาองค์ประกอบให้ครบท้ง 5 ด้าน ท้งน  ี ้
                                                                                   ั
                                                       �
                                                �
                                                                                      �
                                      ี
               เพราะสมรรถภาพทางกายท่สัมพันธ์กับสุขภาพ จะช่วยให้ร่างกายมีประสิทธิภาพในการทางาน ช่วย
               ลดปัจจัยเสี่ยงที่จะเป็นโรคต่าง ๆ ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable diseases:
               NCDs) เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเร้อรัง คือ ไม่ได้เกิดจากเช้อโรคและไม่สามารถแพร่กระจายจากคน
                                         ื
                                                             ื
                                                                          การออกก�าลังกาย   27
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39