Page 35 -
P. 35
์
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
33
สมองและระบบประสาท รักษาสุขภาพของผิวหนัง ลิ้นและเนื้อเยื่อของระบบย่อยอาหาร จ าเป็นส าหรับ
การสังเคราะห์ฮอร์โมนเพศและช่วยลดคลอเลสเตอรอล
แหล่งของไวตามินบี 3 คือ ไวตามินบี 3 เป็นไวตามินตัวเดียวที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ได้จาก
กรดอะมิโนทริปโตเฟน (Tryptophan) โดยทริปโตเฟน จ านวน 60 มิลลิกรัม จะให้ไวตามินบี 3 จ านวน
1 มิลลิกรัม แต่ประสิทธิภาพการเกิดปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นได้ไม่ดีนัก อาหารที่มีไวตามินบี 3 สูง คือ อาหารที่
มีโปรตีนสูง เช่น ไก่ เนื้อวัว ปลา ตับ ถั่วลิสง เมล็ดทานตะวัน ธัญพืช ผลิตผลจากปลา ยีสต์และร า แม้ว่า
ในอาหารบางชนิดจะมีไวตามินบี 3 อยู่มากก็ตาม แต่โดยทั่วไปไวตามินบี 3 ที่พบมักอยู่ในรูปที่เกาะตัว
กับสารอื่นๆ ซึ่งร่างกายสัตว์ไม่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ในเมล็ดข้าวโพดไวตามินบี 3 จะเกาะ
อยู่กับโปรตีน ท าให้มีการใช้ประโยชน์ได้น้อย หากให้อาหารที่ใช้เมล็ดข้าวโพดเป็นหลักจ าเป็นต้องมีการ
เสริมไวตามินบี 3 ด้วย
ไวตามินบี 5 (Pantothenic acid)
ไวตามินบี 5 หรือ กรดแพนโตธินิค ไวตามินนี้มีอยู่ในพืชและเนื้อเยื่อสัตว์เกือบทุกชนิด จึงให้ชื่อ
ว่า “Pantothenic acid” ซึ่งแปลว่า “กรดที่สามารถพบได้ทุกแห่ง”
ไวตามินบี 5 เป็นสารประกอบที่ไม่คงทน มีลักษณะเป็นไขมันหนืดและมีคุณสมบัติที่ชอบดูดน้ า
(Hygroscopic) ละลายในน้ าและอีเทอร์ แต่ไม่ละลายในเบนซินและคลอโรฟอร์ม สามารถถูกท าลายได้
ด้วยกรด ด่างและความร้อน เนื่องจากไวตามินบี 5 เป็นสารที่ไม่คงตัว ดังนั้นไวตามินบ 5 สังเคราะห์ที่ใช้
ี
เสริมในอาหารจึงอยู่ในรูปของแคลเซียมแพนโตธิเนท (Ca-pantothenate) ซึ่งมีลักษณะเป็นผลึกสีขาว
ละลายน้ าได้ แต่ไม่ละลายในอีเทอร์ จะมีความคงทนที่ pH ระหว่าง 5-7 แต่สามารถถูกท าลายได้ด้วย
ความร้อน
ไวตามินบี 5 ท าหน้าที่ไม่เหมือนกับไวตามินบีชนิดอื่นๆ ที่ท าหน้าที่เป็นโคเอนไซม์ แต่ไวตามินบี
5 จะเข้าไปเป็นส่วนหนี่งในอณูของโคเอนไซม์ เอ (Coenzyme-A, CoA) หน้าที่ของไวตามินบี 5 คือ เป็น
ส่วนประกอบของโคเอนไซม์ เอ และ Acyl carrier protein (ACP) ท าหน้าที่พาหมู่เอซีล (Acyl) โดยจับ
กับ Sulfhydryl ของ 4-phosphopantothenyl prosthetic group โดยโคเอนไซม์ เอ ท าหน้าที่ส าคัญ
บทที่ 1 บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์