Page 32 -
P. 32
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
์
ื
ิ
ิ
ิ
ิ
30
ไวตามินเค (Vitamin K)
้
ไวตามินเคในธรรมชาติพบได 3 รูปแบบ คือ Phylloquinone (K 1) สร้างขึ้นในพืช
Menaquainone (K 2) สร้างจากจุลินทรีย์ และ Menadione (K 3) เป็นรูปสารสังเคราะห์ ไวตามินเคมี
บทบาทในกระบวนการท าให้เม็ดเลือดแข็งตัว ด้วยการกระตุ้นโปรธรอมบิน (Prothrombin) สร้าง
ต าแหน่งให้แคลเซียมมาเกาะ (Calcium-binding site) ในกระบวนการแข็งตัวของเลือด โดยโปรธรอม
บินจะเปลี่ยนเป็นธรอมบิน (Thrombin) เมื่อแคลเซียมมาร่วมท างาน ท าให้ธรอมบินไปเปลี่ยนโปรตีนใน
เลือดที่ละลายได้ (Soluble protein fibrinogen) เป็นรูปแบบละลายไม่ได้ (Insoluble fibrin) เกิด
การตกตะกอนและเลือดแขงตัวได้ ไวตามินเคยังมีบทบาทในการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนในปฏิกิริยา
็
Oxidative phosphorylation ในปัจจุบันยังพบอีกว่าไวตามินเคมีคุณสมบัติส าคัญต่อ Bone
remodeling โดยเฉพาะ Osteoblast ที่น าไปสร้าง Osteocalcin
แหล่งของไวตามินเค คือ ไวตามินเคจากอาหารพืชสีเขียว ส่วนมากอยู่ในรูปของ
Phylloquinone (K 1) จากการหมักของแบคทีเรียในระบบย่อยอาหารของสัตว์ ส่วนมากอยู่ในรูปของ
Menaquainone (K 2) ท าให้ในสัตว์เคี้ยวเอื้องไม่จ าเป็นต้องเสริมไวตามินเค เพราะจุลินทรีย์สามารถ
สังเคราะห์ไวตามินขึ้นมาให้ได้อย่างเพียงพอและจากไวตามินสังเคราะห์ซึ่งจะอยู่ในรูปของ Menadione,
Menadione bisulfate, Menadione sodium bisulfate, Menadione dimethyl-
pyrimidinolbisulfite และ Manadione phosphate
2.1.4.2 ไวตามินที่ละลายในน้ า (Water soluble vitamins)
ไวตามินบี (B-complex) หน้าที่ของไวตามินบี คือ ท างานร่วมกับเอนไซม์ เป็นโคแฟคเตอร์
(Cofactor) ที่เกี่ยวข้องกับการเผาผลาญสารอาหารคาร์โบไฮเดรต ส่วนเรื่องความเป็นพิษมักไม่ค่อยพบ
เพราะเป็นไวตามินชนิดละลายน้ า จึงไม่สะสมในร่างกาย สามารถขับส่วนเกินความต้องการออกได้ ใน
สัตว์เคี้ยวเอื้องจะมีจุลินทรีย์ในกระเพาะหมักที่สามารถสังเคราะห์ไวตามินบีขึ้นมาได้อย่างเพียงพอ สัตว์
ปีกและสุกรจะต้องเสริมไวตามินบีในอาหารในรูปไวตามินบีรวม
บทที่ 1 บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์