Page 27 -
P. 27

โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                           ิ
                                                                 ิ
                                   ื
                                                ์
                                              ิ
                                     ิ
                                                           25

                  2.1.4 ไวตามิน (Vitamins)


                         ไวตามินจะพบทั้งในพืชและสัตว์  ในปริมาณเพียงเล็กน้อยเท่านั้น  แต่มีความส าคัญต่อการด ารง

                  ชีพของสิ่งมีชีวิตอย่างมาก  โดยเกี่ยวข้องกบขบวนการเมตาบอลิซึมต่างๆ  ซึ่งไวตามินส่วนใหญ่  ท าหน้าที่
                                                    ั
                  เป็นส่วนประกอบของระบบเอนไซม์ เพื่อช่วยเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในขบวนการเมตาบอลิซึม ไวตามินที่พบ

                  ในพืชและสัตว์ สามารถแบ่งตามลักษณะการละลายได้เป็น 2 กลุ่ม ดังแสดงในภาพที่ 1-6



                                        ไวตามินที่ละลายในน้ า                        ไวตามินบีต่างๆและไวตามินซี

                                           (Water-soluble vitamins)

                  ไวตามิน (Vitamins)

                                             ไวตามินที่ละลายในไขมันหรือตัวท าละลายอินทรีย์         ไวตามินเอ ดี อี

                                             (Fat-soluble vitamins)                                        และเค



                  ภาพที่ 1-6 องค์ประกอบของไวตามิน





                         พืชและสัตว์จะมีความแตกต่างกันในเรื่องของไวตามิน  คือ  พืชสามารถสังเคราะห์ไวตามินทุก

                  ชนิดที่ใช้ในขบวนการเมตาบอลิซึมของตัวเองได้  แต่สัตว์จะมีความสามารถในการสร้างไวตามินได้เพียง

                  บางชนิดเท่านั้น เช่น ไวตามินเอ ซึ่งมีความจ าเป็นส าหรับการท างานหลายๆ ประการ แต่สัตว์ต้องได้รับ

                  ทั้งไวตามินเอและสารต้นตอ (Precursor) ของไวตามินเอจากอาหาร ในอาหารสัตว์พบว่าอาจมีการขาด

                                  ้
                  ไวตามินบางชนิดได เช่น พืชบางอย่าง  (เมล็ดธัญพืช ยกเว้น ข้าวโพด) จะมีไวตามินเออยู่น้อยหรือไม่มี
                                                                ่
                  เลย ในขณะที่พวกหญ้าหรือพืชหมักจะมีไวตามินเออยู่อยางเพียงพอ
                         ไวตามินที่มีความจ าเป็นต่อร่างกายมีหลายชนิดด้วยกัน เช่น ไวตามินดี ซึ่งมีความจ าเป็นส าหรับ

                  การใช้ประโยชน์แคลเซียมและฟอสฟอรัส  แต่ปริมาณความต้องการในอาหารจะขึ้นกับการที่สัตว์ได้รับ

                  แสงแดดมากน้อยเพียงใด  ในอาหารบางชนิด  เช่น  น้ ามันตับปลาจะพบไวตามินดีในปริมาณที่สูง  แต่

                  อาหารส่วนใหญ่แทบจะไม่พบไวตามินดีเลย  ภายใต้สภาพการเลี้ยงสัตว์ตามปกตินั้น  พบว่า  การขาดไว

                  ตามินอีมีผลท าให้สัตว์เกิดอาการกล้ามเนื้อตายหรือมีอัตราการฟักออกลดลงและการขาดไวตามินเค  ท า

                  ให้คุณสมบัติการแข็งตัวของเลือดเสียไป  แต่จุลินทรีย์ในสัตว์แทบทุกชนิด  สามารถสังเคราะห์ไวตามินเค




                   บทที่ 1   บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32