Page 29 -
P. 29

ิ
                                                                           ิ
                                                ์
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                              ิ
                                     ิ
                                   ื
                                                           27

                          ไวตามินเอในรูปกรดเรติโนอิกมีกลไกการออกฤทธิ์เหมือนฮอร์โมน  คือ  มีรีเซ็ปเตอร์  ได้แก่

                  Retinoic acid binding protein (RABP) ซึ่งออกฤทธิ์แบบสเตียรอยด์ฮอร์โมน (Steroid hormone)

                  ทั่วไป อาจเรียกกรดเรติโนอิกได้ว่าเป็น Isoprenyl growth hormone มีความส าคัญต่อการเจริญเติบโต

                  ของกระดูกและฟัน  สัตว์ปีกที่ได้รับไวตามินเอไม่เพียงพอ  ท าให้โตช้า  อ่อนแอ  มีความต้านทานโรคบาง

                  ชนิดต่ าและการให้ไข่ลดลง นอกจากนี้ไวตามินเอมีความส าคัญต่อการสร้างเสปริ์ม (Spermatogenesis)

                  ในเพศผู้ การขาดไวตามินเอมีผลท าให้เซลล์ผิดรูปร่างเกิดขึ้นได้

                         แหล่งของไวตามินเอ

                         คือ  ไวตามินเอพบในไข่แดง  นม  เนยและไขมันสัตว์  ซึ่งอยู่ในรูปของแอลกอฮอล์  คือ  เรติ

                  นอล ส่วนไวตามินเอที่พบในตับจะอยู่ในรูปของไวตามินเอ เอสเทอร์ (Vitamin A ester) หรือเรตินิลเอส

                  เทอร์  (Retinyl  ester)  ไวตามินเอจากพืช  มีอยู่ในผักและผลไม้ที่มีสีเขียว  จะมีสารโปรไวตามิน  เอ  ที่

                  เรียกว่า แคโรทีน (Carotenes) หรือแคโรทีนอยด์ (Carotenoids) ซึ่งสามารถเก็บไวตามินเอได้ที่ล าไส้

                  เล็ก แคโรทีนมีหลายชนิด ได้แก่ α-, β- และ -แคโรทีน

                         ปัจจุบันไวตามินเอทางการค้ามักอยู่ในรูปเอสเทอร์และใช้เทคโนโลยีการเคลือบ เพื่อให้เกิดความ

                  เสถียร  การเสริมสารต้านอนุมูลอิสระ  เช่น  Ethoxyquin  หรือ  Butylated  hydroxytoluene  (BHT)

                  สามารถลดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ โดย 1 I.U. ของไวตามินเอ เท่ากับ 0.344 ไมโครกรัมของเรตินิลอะซิ

                  โตนหรือ 0.549 ไมโครกรัมของเรตินิลปามิเตส

                         ความชื้นในสารผสมล่วงหน้าและอาหาร  ท าให้ออกซิเจนซึมผ่านได  จึงง่ายต่อการเกิดปฏิกิริยา
                                                                                ้
                  ออกซิเดชั่น นอกจากนี้การเสริมโคลีนคลอไรด์และแร่ธาตุปลีกย่อยในสารผสมล่วงหน้ายังสามารถท าลาย

                  ไวตามินเอได้  ด้วยเหตุนการเก็บรักษาไวตามินเอจึงต้องเก็บในสภาวะปราศจากความชื้นและควรปรับ
                                         ี้
                  pH  ให้มากกว่า  5  เนื่องจาก  pH  ต่ าจะท าให้เกิด  Isomerization  ท าให้ไวตามินเอในรูป  Trans-

                  เปลี่ยนเป็นรูป Cis- ซึ่งมีความเสถียรน้อยกว่า




                         ไวตามินดี (Vitamin D) หรือแคลซิเฟอรอล (Calciferol)



                         ไวตามินดีช่วยในการดูดซึมแคลเซียมในร่างกาย ป้องกันโรคกระดูกอ่อนและควบคุมปริมาณของ

                  แคลเซียมในเลือด ร่างกายสามารถสังเคราะห์ไวตามินดีได้เองโดยอาศัยแสงแดด โดยในผิวหนังมีสาร 7-

                  dehydrocholesterol       เป็นสารตั้งต้นของไวตามินดี   ซึ่งจะถูกเปลี่ยนเป็นไวตามินดี   3

                  (Cholecalciferol) ได้ โดยรังสีอัลตราไวโอเลตในแสงแดด ไวตามินดีสามารถพบได้ 2 รูปแบบ คือ ไว


                   บทที่ 1   บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34