Page 19 -
P. 19
ิ
ิ
์
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
17
เรียกว่า “แป้งสัตว” มีส่วนประกอบคล้ายอะไมโลเพกติน แต่มีกิ่งก้านมากกว่า เมื่อแตกตัวออกจะได ้
์
กลูโคส ขณะที่ในพืชจะไม่พบไกลโคเจน
-เซลลูโลส (Cellulose) เกิดจากการรวมตัวกันของน้ าตาลกลูโคสต่อกันเป็นจ านวน
มากประมาณ 1,250-12,500 โมเลกุล เซลลูโลสพบมากในพืช ท าหน้าที่เสริมโครงสร้างของล าต้นและกิ่ง
ก้านของพืชผักและผลไม้ให้แข็งแรง สัตว์ที่กินหญ้าจะสามารถย่อยเซลลูโลสได้ โดยอาศัยแบคทีเรียใน
กระเพาะอาหารเป็นตัวย่อย เมื่อย่อยแล้วจะได้น้ าตาลกลูโคส ในขณะที่ร่างกายสัตว์อนๆจะไม่สามารถ
ื่
ย่อยเซลลูโลสได้ แต่จะมีการขับถ่ายออกมาในลักษณะของกาก เรียกว่า “เส้นใยอาหาร” ช่วยกระตน
ุ้
การท างานของล าไส้ใหญ่ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ท าให้ขับถ่ายได้สะดวก
-ไคติน (Chitin) เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ ไคตินพบได้ในสัตว์ไม่มีกระดูกสัน
หลัง เช่น แมลง กุ้งและปู เป็นต้น ไคตินเป็นส่วนประกอบของเปลือกแข็งหุ้มตัวสัตว์ ซึ่งประกอบด้วย
อนุพันธ์ของน้ าตาลกลูโคส คือ N-acetylglucosamine ต่อกันด้วย β-1,4 linkage
4.2 Heteropolysaccharides เกิดจากการรวมตัวกันของน้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว
(Monosaccharides) ต่างชนิดกันจับกันเป็นสายยาวหรือเกิดจากการรวมตัวกันของนาตาลโมเลกุลเดี่ยว
้
กับสารชีวโมเลกุลอื่นๆ ซึ่งสามารถแบ่งย่อยได้เป็น 5 ชนิด ดังนี้คือ กลูโคซามิโนไกลแคน
(Glycosaminoglycan, GAG) หรือ มูโคอะมิโนไกลแคน (Mucoaminoglycan) ไกลโคโปรตีน
(Glycoprotein) ไกลโคลิพิด (Glycolipid) ลิกนิน (Lignin) และเพคติน (Pectin)
-กลูโคซามิโนไกลแคน (Glycosaminoglycan, GAG) หรือ มูโคอะมิโนไกลแคน
(Mucoaminoglycan) เกิดจากการรวมตัวกันของน้ าตาลโมเลกุลเดี่ยวหลายๆชนิดมาต่อกันและมักพบ
กรดอะมิโนรวมอยู่ด้วย เช่น เฮปาริน (Heparin) มีสมบัติท าให้เลือดไม่แข็งตัว
-ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein) เกิดจากการรวมตัวของโอลิโกแซคคาไรด์
(Oligosaccharides) กับโปรตีน
-ไกลโคลิพิด (Glycolipid) เกิดจากการรวมตัวของโพลีแซคคาไรด์
(Polysaccharides) กับไขมัน พบได้ในเยื่อหุ้มเซลล์และผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
-ลิกนิน (Lignin) เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ ท าหน้าที่เสริมความแข็งแรงให้กับ
เนื้อเยื่อพืช โดยสะสมตามผนังเซลล์ของพืช ท าให้เนื้อไม้มีความแข็งแรง
บทที่ 1 บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์