Page 18 -
P. 18

ิ
                                                ์
                                              ิ
                                                                 ิ
                                     ิ
                                   ื
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                           16

                         3. โอลิโกแซคคาไรด์ (Oligosaccharides) เกิดจากการรวมตัวกันของน้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว 3-

                  9 โมเลกุล ได้แก่

                                -มอลโตไตรโอส  (Maltotriose)  เกิดจากการรวมตัวของน้ าตาลกลูโคส  3  โมเลกุล

                  มอลโต-ไตรโอสเป็นผลผลิตจากการย่อยแป้งโดยเอนไซม์อะไมเลส (Amylase)

                                - ชราฟฟิโนส (Raffinose) เกิดจากการรวมตัวของน้ าตาลซูโคสและกาแลคโทส ราฟ

                  ฟิโนสพบได้ในเมล็ดพืชตระกูลถั่ว  ร่างกายไม่สามารถย่อยราฟฟิโนส  จึงเหลือเป็นกากให้แบคทีเรียย่อย

                  กลายเป็นแก๊ส          นอกจากนี้ยังมีฟรักโตโอลิโกแซคคาไรด์  (Fructooligosaccharide)  อินูลิน

                  (Inulin)  กาแลค-โตโอลิโกแซคคาไรด์  (Galacto-oligosaccharide)  เป็นต้น  ซึ่งสารเหล่านี้ยังจัดเป็นพ

                  รีไบโอติกอีกด้วย



                          4. น้ าตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharides) เกิดจากการรวมตัวกันของน้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว

                  จ านวนมาก  ซึ่งสามารถแบ่งตามสูตรโครงสร้างได้เป็น  2  กลุ่ม  คือ  Homopolysaccharides  และ

                  Heteropolysaccharides

                                4.1  Homopolysaccharides  เกิดจากการรวมตัวกันของน้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว

                  (Monosaccharides) ชนิดเดียวกันจับตัวเป็นสายยาว ซึ่งสามารถแบ่งย่อยได้เป็น 4 ชนิด ดังนี้คือ แป้ง

                  (Starch) ไกลโคเจน (Glycogen) เซลลูโลส (Cellulose) และไคติน (Chitin)

                                - แป้ง (Starch) เกิดจากการรวมตัวกันของน้ าตาลกลูโคสต่อกันเป็นจ านวนมาก แป้ง

                  พบได้ในพืช โดยสะสมอยู่ในเมล็ด ราก หัว ล าต้นและใบของพืช เช่น ข้าว มัน เผือกและกลอย เป็นตน
                                                                                                      ้
                  แป้งประกอบดวย  อะไมโลส  (Amylose)  และอะไมโลเพคติน  (Amylopectin)  โดยอะไมโลสพบได้
                              ้
                  ประมาณ 15-20% อะไมโลสเกิดจากการรวมตัวกันของกลูโคสตั้งแต่ 100-1,000 โมเลกุล เชื่อมต่อกัน

                  ด้วย α-1,4 glycosidic bond ซึ่งมีโครงสร้างขดเป็นเกลียวยาว ไม่แตกแขนงและถูกย่อยด้วยเอนไซม์

                  α-amylase  ในขณะที่อะไมโลเพกติน  (Amylopectin)  พบได้ประมาณ  80-85%  อะไมโลเพกตินเกิด


                  จากการรวมตัวกันของกลูโคสตั้งแต่  300-6,000  โมเลกุล  เชื่อมต่อกันด้วย  α-1,4  linkages  และแตก

                  แขนงด้วย α-1,6 linkages ซึ่งพบการแตกแขนงทุกๆ 25-30 glucose residues

                                -ไกลโคเจน (Glycogen) หากร่างกายมีปริมาณคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป ร่างกายจะ

                  เปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตส่วนเกินนี้ให้อยู่ในรูปของไกลโคเจนและเก็บสะสมไว้ในตับและกล้ามเนื้อ  บางครั้ง







                   บทที่ 1   บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23