Page 13 -
P. 13

ิ
                                   ื
                                     ิ
                                                                           ิ
                                                                 ิ
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                ์
                                                           11

                  ต้องการน้ าประมาณ 2 เท่าของปริมาณอาหารที่กิน โคและกระบือมีความต้องการน้ าประมาณ 1-6.5 เท่า

                  ส่วนในแกะและสัตว์ปีกจะมีความต้องการน้ าน้อยกว่า



                  น้ าสามารถจ าแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ

                  1.     น้ าในรูปอิสระ (Free water)

                         เป็นน้ าที่มีสารอื่นๆ ละลายอยู่หรือแขวนลอยอยู่ น้ าชนิดนี้จะอยู่รอบๆเซลล์หรือยู่ภายในเซลล์

                  น้ าในรูปอิสระเป็นน้ าส่วนใหญ่ที่พบในอาหารและสามารถแยกออกจากองค์ประกอบอื่นๆ ของอาหารได้

                  ง่าย เช่น การระเหยจากการอบแห้ง การสกัดหรือคั้นออกจากอาหารได้ง่าย น้ าชนิดนี้มีผลต่อความสด

                  ของอาหารและมีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในอาหาร



                  2.     น้ าที่เกาะเกี่ยวกับสารอื่น (Bound water)

                         เป็นน้ าส่วนที่เกาะอยู่กับโครงสร้างของสารอื่นหรือส่วนประกอบอื่นในอาหารด้วยพันธะทางเคมี

                  หรือเป็นน้ าที่รวมอยู่ในผลึก   น้ าชนิดนี้ไม่สามารถเป็นตัวท าละลายของสารอาหารอื่นและมีความ

                  หนาแน่นมากกว่าน้ าอิสระ น้ าชนิดนี้อาจแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่

                         2.1    Monolayer  หรือ  Molcular  layer  น้ าชนิดนี้เป็นน้ าที่อยู่ในโครงสร้างของเนื้อเยื่อ

                  อาหาร  โดยเกาะติดกับอาหารเป็นส่วนแรกด้วยพันธะที่แข็งแรงมาก  จนไม่สามารถก าจัดออกด้วยความ

                  ร้อนปกติ  น้ าส่วนนี้ไม่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมีต่างๆ  ไม่ละลายสารอาหารอื่นและไม่เปลี่ยนสถานะเป็น

                  ของแข็ง แต่เป็นน้ าที่จุลินทรีย์สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้

                         2.2    Multilayer หรือ Multimolcular layer เป็นน้ าในอาหารที่เกาะอยู่กับน้ าส่วนแรก

                  มีคุณสมบัติเป็นตัวกระจายสารอาหารอื่นได้ ท าให้มีผลต่อความดันไอของอาหาร แต่เป็นน้ าที่จุลินทรีย์ยัง

                  ไม่สามารถน าไปใช้ได  ้

                         2.3    Capillary water เป็นน้ าที่เกาะติดอยู่กับน้ าในข้อที่ 2.2 อย่างหลวมๆ จุลินทรีย์บาง

                  ชนิดที่ต้องการความชื้นต่ าสามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้และมีส่วนเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมีบางชนิด เช่น

                  ปฏิกิริยาเมลลาร์ด เป็นต้น



                             จากการวิจัยของ Marín-Flamand et al. (2014) ศึกษาสมรรถภาพการผลิตของไก่เนื้อที่

                  ได้กินน้ าเปรียบเทียบกับไก่เนื้อที่กินน้ าผสมกรดอินทรีย์ชนิดต่างๆ  ผลการทดลองพบว่าการที่ไก่เนื้อกิน

                  น้ าที่ผสมกรดแอสคอร์บิก:กรดซิตริก:กรดมาลิก ในอัตราส่วน 36:60:5 โดยผสมกรดอินทรีย์ในน้ ากินของ


                   บทที่ 1   บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18