Page 17 -
P. 17
ิ
์
ิ
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
15
ดูดซึมน าไปใช้ได้เลยและจัดเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ให้ความหวาน น้ าตาลที่ประกอบด้วยคาร์บอน 5 ตัว
เรียกว่า “เพนโทส (Pentose)” ส่วนน้ าตาลที่ประกอบด้วยคาร์บอน 6 ตัว เรียกว่า “เฮกโซส
(Hexose)” ได้แก่ น้ าตาลกลูโคส น้ าตาลฟรักโทส น้ าตาลกาแลคโทสและน้ าตาลแมนโนส
-น้ าตาลกลูโคส (Glucose) เป็นน้ าตาลที่สลายตัวแล้วให้พลังงานมากที่สุด มีความ
หวานรองจากน้ าตาลฟรักโทสและที่ส าคัญของน้ าตาลกลูโคส คือ เนื้อเยื่อประสาทจะใช้กลูโคสเพียง
อย่างเดียวในการสร้างพลังงาน ดังนั้นจึงพบน้ าตาลกลูโคสในสัตว์ตลอดเวลา น้ าตาลกลูโคสมีอยู่ใน
ธรรมชาติทั่วไป ได้แก่ พืช ผัก ผลไม้ องุ่น ข้าวโพดและน้ าผึ้ง
-น้ าตาลฟรักโทส (Fructose) เป็นน้ าตาลที่มีความหวานมากที่สุด น้ าตาลฟรักโทส
พบมากในน้ าผึ้ง โดยในน้ าผึ้งจะมีน้ าตาลฟรักโทส 40% นอกจากนี้ยังสามารถพบน้ าตาลฟรักโทสได้ใน
เกสรดอกไม้ ผัก ผลไม้ กากน้ าตาลและมะม่วงสุก
-น้ าตาลกาแลคโทส (Galactose) เป็นน้ าตาลที่ไม่พบในธรรมชาติ เพราะปกติจะ
รวมอยู่กับน้ าตาลกลูโคสเป็นน้ าตาลแลกโทส ที่มีอยู่ในนมและผลิตภัณฑ์นม นอกจากนี้น้ าตาลกาแลคโท
สมีสูตรโครงสร้างคล้ายกับน้ าตาลกลูโคสมากที่สุด
-น้ าตาลแมนโนส (Mannose) เป็นน้ าตาลที่เกิดจากการสลายแมนแนน (Mannan)
2. น้ าตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เกิดจากการรวมตัวกันของน้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว 2
โมเลกุล จัดเปนคาร์โบไฮเดรตที่ให้ความหวาน เมื่อกินน้ าตาลโมเลกุลคู่เข้าไป จะมีการย่อยโดยเอนไซม์
็
ได้น้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว แล้วจึงดูดซึมต่อไป น้ าตาลโมเลกุลคู่ ได้แก่ น้ าตาลซูโคส น้ าตาลมอลโทสและ
น้ าตาลแลกโทส
-น้ าตาลซูโคส (Sucrose) หรือที่รู้จักกันในชื่อน้ าตาลทรายและน้ าตาลอ้อย น้ าตาลซู
โคส เกิดจากการรวมตัวกันของน้ าตาลกลูโคล 1 โมเลกุลกับน้ าตาลฟรักโทส 1 โมเลกุล น้ าตาลชนิดนี้พบ
ได้ในอ้อย หัวบีทและผลไม้ที่มีรสหวาน
-น้ าตาลมอลโทส (Maltose) เกิดจากการรวมตัวของน้ าตาลกลูโคส 2 โมเลกุล พบ
มากในเมล็ดข้าวที่ก าลังงอก
-น้ าตาลแลกโทส (Lactose) หรือที่รู้จักกันในชื่อน้ าตาลนม น้ าตาลแลกโทสเกิดจาก
การรวมตัวของน้ าตาลกลูโคส 1 โมเลกุลกับน้ าตาลกาแลคโทส 1 โมเลกุล พบอยู่ในน้ านม ข้อแตกต่าง
ของน้ าตาลแลกโทสกับน้ าตาลโมเลกุลคู่อื่นๆ คือ จะมีความหวานน้อยกว่า ละลายน้ าได้น้อยกว่าและ
ย่อยได้ช้ากว่า
บทที่ 1 บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์