Page 14 -
P. 14

ื
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                           ิ
                                     ิ
                                                                 ิ
                                                ์
                                              ิ
                                                           12

                  ไก่เนื้อความเข้มข้น 0.5% ท าให้อัตราแลกเนื้อมีค่าต่ าที่สุด เท่ากับ 1.803 มีปริมาณอาหารที่กินต่ าที่สุด

                  96.19  กรัมต่อตัวต่อวัน  และมีอัตราการเลี้ยงรอดสูงที่สุด  95.63  เปอร์เซ็นต์  ดังแสดงในตารางที่  1-4

                  เนื่องจากการที่เสริมกรดอินทรีย์ในน้ ากินของไก่เนื้อ   ส่งผลต่อค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ าของกลุ่ม

                  ทดลองที่1-4 มีค่าเท่ากับ 7.79, 2.68, 2.58 และ 2.73 และมีผลต่อค่าความเป็นกรด-ด่างของกระเพาะ

                  แท้ กระเพาะบด และล าไส้เล็ก ดังนั้นจึงมีผลท าให้ไก่เนื้อกินน้ าที่ผสมกรดแอสคอร์บิก:กรดซิตริก:กรดมา

                  ลิก มีค่าปริมาณอาหารที่กิน อัตราแลกเนื้อและอัตราการเลี้ยงรอดดีที่สุด

                                                     ่
                  ตารางที่ 1-4 ผลของกรดอินทรีย์ในน้ ากินตอสมรรถภาพการผลิตของไก่เนื้อ
                                                                        กลุ่มทดลอง
                                                        1             2            3             4

                              ิ
                  น้ าหนักตัวมีชีวต (กรัม)           2,259.62     2,240.71      2,219.04     2,236.43
                                                                                                   b
                                                                         b
                                                                                      b
                  ปริมาณอาหารที่กิน (กรัมต่อตัวต่อวัน)   107.12    96.19         98.27        97.49
                                                            a
                                                                        b
                                                           a
                                                                                                   c
                                                                                      c
                  อัตราการแลกเนื้อ                     1.99         1.80          1.86         1.83
                                                                         b
                                                           a
                                                                                                   c
                  อัตราการเลี้ยงรอด (เปอร์เซ็นต์)     90.66        95.63         94.66        93.33
                                                                                      c
                  a-c  อักษรที่แตกต่างกันในแนวนอนเดียวกันมีความแตกต่างกันทางสถิติ (P<0.05)
                  หมายเหตุ กลุ่มทดลองที่ 1 คือ ไก่เนื้อกินน้ าที่ไม่เสริมกรดอินทรีย์ กลุ่มทดลองที่ 2 คือ ไก่เนื้อกินน้ าที่
                  เสริมกรดแอสคอร์บิก:กรดซิตริก:กรดมาลิก กลุ่มทดลองที่ 3 คือ ไก่เนื้อที่กินน้ าที่เสริมกรดแอสคอร์บิก:
                  กรดซอร์บิก:กรดมาลิก  และกลุ่มทดลองที่  4  คือ  ไก่เนื้อที่กินน้ าที่เสริมกรดแอสคอร์บิก:กรดทาร์ทาริก:
                  กรดมาลิก

                  ที่มา: Marín-Flamand et al. (2014)




                  2. วัตถุแห้ง (Dry matter)


                             ในอาหารสัตว์นอกจากจะมีน้ าเป็นส่วนประกอบแล้ว  ยังประกอบด้วยส่วนที่เรียกว่า  “วัตถุ

                  แห้ง (Dry matter)” ส่วนของวัตถุแห้งในอาหารนี้สามารถแบ่งออกเป็นสารอินทรีย์ (Organic matter) และ

                  สารอนินทรีย์  (Inorganic  matter)  ซึ่งทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์มีบทบาทส าคัญต่อขบวนการ

                  ต่างๆ ภายในร่างกายสัตว  ์









                   บทที่ 1   บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19