Page 16 -
P. 16

ิ
                                                ์
                                     ิ
                                                                           ิ
                                   ื
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                 ิ
                                                           14

                  กระเพาะเดี่ยว  ถ้าอาหารมีเยื่อใยสูงมากเท่าใด  คุณภาพของอาหารส าหรับสัตว์กระเพาะเดี่ยวก็จะยิ่ง

                  ลดลง เนื่องจากสัตว์กระเพาะเดี่ยวขาดน้ าย่อยที่จะมาย่อยสลายโครงสร้างของเยื่อใย



                                                       เยื่อใย                เซลลูโลส (Cellulose)

                                                                    เพนโตแซน (Pentosane)

                                                                    ลิกนิน (Lignin)

                  คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)                       ไคติน (Chitin)


                             คาร์โบไฮเดรตที่ละลายน้ าได้            แป้ง (Starch)


                              (Nitrogen-free-extract, NFE)          น้ าตาล (Sugar)

                                                                    เพคติน (Pectin)

                                                                    เฮมิเซลลูโลส (Hemicellulose) และอื่นๆ



                  ภาพที่ 1-4 องค์ประกอบของคาร์โบไฮเดรต



                         ปัจจุบันจึงได้มีการเสริมน้ าย่อยสังเคราะห์ในกลุ่มที่เรียกว่า  NSP-degraded  enzyme  หรือ

                  น้ าย่อยที่ใช้ย่อยสารประกอบคาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่แป้งในอาหารที่มีระดับเยื่อใยสูง   เพื่อให้สัตว์ได้รับ

                  พลังงานและสารอื่นๆ  เพิ่มขึ้น  แต่สัตว์เคี้ยวเอื้องสามารถใช้ประโยชน์จากกลุ่มเยื่อใยนี้ได้ดี  เนื่องจาก

                  จุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมนสามารถย่อยสลายจนเป็นกรดไขมันที่ระเหยง่าย (Volatile fatty acid, VFA)

                  ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ส าคัญส าหรับจุลินทรีย์ในการเจริญเติบโตต่อไป   นอกจากนี้ระดับเยื่อใยมีผล

                  โดยตรงต่อไขมันในนมของแม่โคอีกด้วย

                         คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) จ านวน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ วัตถุดิบอาหารสัตว์

                  ที่เป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรต คือ ข้าว ปลายข้าว ข้าวโพดและมันส าปะหลัง เป็นต้น การจัดแบ่งประเภท

                  คาร์โบไฮเดรต  ตามโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต  สามารถแบ่งได้เป็น  4  กลุ่ม  คือ  น้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว

                  (Monosaccharide)  น้ าตาลโมเลกุลคู่  (Disaccharide)  โอลิโกแซคคาไรด์  (Oligosaccharide)  และ


                  น้ าตาลโมเลกุลใหญ่ (Polysaccharide)
                         1.  น้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว  (Monosaccharides)  เป็นการรวมตัวของคาร์บอนตั้งแต่  3-6  ตัว


                  สูตรโมเลกุลคือ C nH 2nO n จัดเป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีขนาดโมเลกุลเล็กที่สุด เมื่อกินเข้าไป ร่างกายสามารถ


                   บทที่ 1   บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21