Page 10 -
P. 10
ิ
ิ
ื
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
8
ตารางที่ 1-2 ค่ามาตรฐานของน้ าเพื่อการบริโภค (ต่อ)
คุณลักษณะ ดัชนีคุณภาพน้ า หน่วย ค่ามาตรฐาน
(เกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
17.ฟีนอล (Phenols) มก./ล. 0.001
18.ซีลีเนียม (Se) มก./ล. 0.01
19.เงิน (Ag) มก./ล. 0.05
20.ซัลเฟต (So 4) มก./ล. 250
21.สังกะสี (Zn) มก./ล. 5.0
22.ฟลูออไรด์ (F) มก./ล. 1.5
ทางเคมี 23.อะลูมิเนี่ยม มก./ล. 0.2
24.เอบีเอส มก./ล. 0.2
(AlkylbenzeneSulfonate)
25.ไซยาไนด์ มก./ล. 0.1
ทางจุล- 26.โคลิฟอร์ม (Coliform) เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล. 2.2
ชีววิทยา
27.อีโคไล (E.coli) เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล. ตรวจไม่พบ
28.จุลินทรีย์ท าให้เกิดโรค เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล. ตรวจไม่พบ
(Disease-causing bacteria)
ที่มา: http://www.lesa.biz/earth/hydrosphere/water-resources 1 ธันวาคม 2558
หมายเหตุ มก./ล. หมายถึง มิลลิกรัม/ลิตร เอ็ม.พี.เอ็น./100 มล. หมายถึง จ านวนสูงสุดของจุลินทรีย์ที่
อาจมีได้ในตัวอย่าง (Most Probable Number)/100 มิลลิลิตร
ส่วนประกอบของน้ าในร่างกายสัตว์จะผันแปรตามชนิด อายุและระดับความอ้วนของสัตว์ โดย
สัตว์แรกเกิดมีน้ าในร่างกาย 75-80% และจะลดลงเหลือ 50% ในสัตว์ที่โตเต็มที่ ระดับของน้ าในร่างกาย
จะถูกควบคุมให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากน้ ามีความส าคัญต่อสิ่งมีชีวิตมาก โดย
่
สัตว์ที่ขาดน้ าจะตายเร็วกวาสัตว์ที่ขาดอาหาร หากร่างกายสูญเสียน้ าในระดับ 4-5% ของน้ าหนักตัวสัตว ์
จะกระหายน้ าอย่างรุนแรงและหน้ามืด วิงเวียน หากสูญเสีย 6-10% จะไม่สามารถควบคุมการท างาน
ของอวัยวะต่างๆ และจะตายหากสูญเสียน้ าถึง 12% ของน้ าหนักตัว
หน้าที่ของน้ าในร่างกาย คือ เป็นตัวท าละลาย ซึ่งน าสารอาหารไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย
เพื่อให้ได้ตามความต้องการของเซลล์และน าของเสียมาขับออก น้ าเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาหลายอย่าง เช่น
การท างานของเอนไซม์ (Enzyme) และขบวนการไฮโดรไลซีส (Hydrolysis) เป็นต้น นอกจากนี้น้ ายังท า
บทที่ 1 บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์