Page 38 -
P. 38

ิ
                                                    ิ
                                 ิ
                      ื
                                    ์
         โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                         ิ

          พ.ศ. 2555 เพิ่มขึ้นจ�านวนมาก ส่วนพื้นที่ปลูกข้าวนาปรังพบว่ามีความผันผวนมากกว่าข้าวนาปี
          โดยเฉพาะในภาคเหนือที่มีการเพิ่มขึ้นสูงมาก ในขณะที่พื้นที่ปลูกข้าวของภาคกลางกลับมีอัตรา
                                        ้
          การขยายตัวต�่ามาก จึงกระทบตอโรงสีขาวในภาคกลางค่อนข้างมากท�าให้โรงสีขาวในภาคกลาง
                                  ่
                                                                      ้
           ่
           ี
               �
                     ิ
                                                                ื
                                                 ่
                                                 ิ
                                                    ุ
                                        �
                                                        ้
                                                        ื
                                                      ั
                                                                     ั
                                                                             ื
          ทเคยทาการผลตข้าวได้ 2 ช่วงต่อปี จาเป็นต้องเพมจดรบซอข้าวเปลอกไปยงภาคเหนอและ
          ภาคกลางมากขึ้น
               ■  เกษตรกรใช้ชนิดและพนธุ์ข้าวที่เปลี่ยนไป
                                    ั
               ในการปลูกข้าวนาปี เกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือตอนบนเปล่ยน
                                                                               ี
                                         ึ
          การปลูกข้าวเหนียวมาเป็นข้าวเจ้ามากข้นในปี พ.ศ. 2563 ภาคเหนือมีการปลูกข้าวเจ้าต่อ
          ข้าวเหนียว 80.45 : 19.55 เม่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2551 สัดส่วนเป็น 75.04 : 24.69
                                  ื
          ในขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือการปลูกข้าวเจ้าต่อข้าวเหนียวมีสัดส่วนอยู่ที่ 64.28 : 35.72
          เมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2551 พบว่ามีสัดส่วน 54.69 : 45.31 สะท้อนให้เห็นว่าเกษตรกร
                             ื
                                                                  ึ
          เปลี่ยนรูปแบบการปลูกเพ่อเก็บข้าวไว้รับประทานมาเป็นเชิงพาณิชย์มากข้น แต่ในการปลูกข้าว
                                             ิ
                                                                 �
                                                   ึ
          นาปรังกลับมีการเปล่ยนมาปลูกข้าวเหนียวเพ่มมากข้นในภาคเหนือ ทาให้โรงสีข้าวบางแห่ง
                          ี
                                                                     ึ
          ต้องมการปรบตวเปลยนจากการสข้าวเจ้ามาเป็นการสข้าวเหนยวเพมขน ซงทาให้โรงสข้าว
                                     ี
                                                    ี
                                                           ี
                                                                  ึ
                    ั
                                                               ่
                      ั
              ี
                                                                       �
                                                               ิ
                                                                     ่
                          ่
                          ี
                                                                  ้
                                                                              ี
                              ื
                                                            ิ
                                       ึ
          ต้องมีการลงทุนในด้านเคร่องจักรเพ่มข้น อีกท้งต้องเรียนรู้ทักษะเพ่มในการสีข้าวเหนียว ซ่งจาก
                                                                              ึ
                                     ิ
                                            ั
          การสัมภาษณ์พบว่าโรงสีข้าวหลายแห่งมีการลงทุนเพิ่มและมีการเรียนรู้ทักษะใหม่ แต่โรงสีข้าว
          ในบางแห่งไม่พร้อมที่จะลงทุนเพิ่ม เนื่องจากไม่คุ้นเคยกับการสีข้าวเหนียว
                                                                         ี
                               ี
               เม่อพิจารณาการเปล่ยนแปลงด้านพันธุ์ข้าวของเกษตรกรพบว่า พันธุ์ข้าวท่ใช้ปลูกข้าว
                 ื
          นาปีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีการเปลี่ยนมาปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 มากขึ้น เนื่องจาก
          ราคาสูงและเป็นท่ต้องการของตลาดต่างประเทศ ในภาคเหนือและภาคกลางพบว่า เกษตรกร
                       ี
          นิยมปลูกพันธุ์ข้าวราชการไม่ไวแสงมากขึ้น โดยในภาคเหนือเกษตรกรลดการใช้พันธุ์ กข.6 และ
          ในภาคกลางเกษตรกรลดการใช้พันธุ์สุพรรณบุรี 1 ส่วนพันธุ์ข้าวนาปรังพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่
                                 ึ
          ปลูกข้าว กข. ไม่ไวแสงเพ่มข้นโดยลดการใช้พันธุ์สุพรรณบุรี 1 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                              ิ
           ั
                                                                     ็
          พนธชยนาท 1, 2 ในภาคกลาง และพนธราชการไมไวแสงในภาคเหนอ อยางไรกตามตลอดระยะ
             ุ
                                     ั
                                                                 ่
                                                             ื
              ั
                                                ่
             ์
                                        ์
                                        ุ
          เวลา 20 ปี เกษตรกรยังคงมีการใช้พันธุ์เดิมทั้งข้าวขาวดอกมะลิ 105 พันธุ์ กข.6 โดยการวิจัย
          และพัฒนาสายพันธุ์ข้าวของไทยใหม่ ๆ มีค่อนข้างจ�ากัด ซึ่งปัจจัยนี้ส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยัง
          ปริมาณผลผลิตต่อไร่ของไทย
          36  สถาบันคลังสมองของชาติ
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43