Page 45 -
P. 45
ิ
ิ
์
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ให้กระบือสาวได้รับการผสมพนธุ์ เมื่ออายุ 2 ปี 6 เดือนขึ้นไป และควรมีน้ าหนักไม่น้อยกว่า 350-400
ั
กิโลกรัม เนื่องจากกระบือสาวยังมีการเจริญเติบโตทางด้านโครงสร้างร่างกายยังไม่เต็มที่ หากได้รับการผสม
ี
ั
พนธุ์เร็วเกินไป จะท าให้การเจริญเติบทางโครงสร้างร่างกายช้าลงหรือหยุดชะงัก หากได้รับอาหารไม่เพยงพอ
ุ้
ควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงสภาพร่างกายของกระบือสาวอมท้องให้อยู่ในสภาพปานกลางจนถึงสภาพค่อนข้าง
อวน (คะแนน 3.0-3.5) หากมีสภาพร่างกายค่อนข้างผอม ควรเสริมอาหารในช่วงเช้า-เย็นให้มากขึ้น เมื่อการ
้
อุ้มท้องเข้าสู่ระยะ 6-7 เดือน กระบือสาวอุ้มท้องจะกินอาหารมากขึ้น กินอาหารไม่เลือก ส่วนท้องทางด้านขวา
จะขยายใหญ่อย่างรวดเร็ว เนื่องจากลูกในท้องมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ต้องการโภชนะจ านวนมากเพอ
ื่
การเจริญเติบโต ดังนั้นควรจัดเตรียมอาหารหยาบ อาหารข้น แร่ธาตุก้อน และน้ าให้เพยงพอ การให้อาหาร
ี
น้อยเกินไปจะท าให้ลูกในท้องเติบโตช้าลง น้ าหนักแรกคลอดจะต่ าลง รวมทั้งแม่กระบือหลังคลอดจะ
เจริญเติบโตช้าลง และมีความสมบูรณ์พนธุ์ต่ า การกลับสัดหลังคลอดช้าลง ท าให้ช่วงห่างการตกลูกยาวขึ้น
ั
ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการผลิตโดยรวมอย่างมากตามมา
ื่
ี
แม่กระบือหลังคลอดควรได้อาหารที่มีคุณค่าและสมดุลโภชนะเพยงพอกับความต้องการเพอการด ารง
ิ่
ชีพ และการเจริญเติบโตของแม่กระบือที่ยังไม่เต็มที่ รวมทั้งการสร้างน้ านมเลี้ยงลูก ควรเพมปริมาณอาหาร
หรือเพิ่มจ านวนครั้งในการให้อาหาร แม่กระบือจะกลับสัดหรือจะมีความสมบูรณ์พนธุ์เร็วขึ้น สามารถผสมพนธุ์
ั
ั
หลังคลอดได้เร็วตามไปด้วย หากเป็นไปหลักการแม่กระบือจะกลับสัดและสามารถผสมพนธุ์หลังคลอดได้ใน
ั
ระยะ 45-60 วันหลังคลอด สามารถอุ้มท้องลูกตัวต่อไปในขณะที่ยังให้นมลูกอยู่ กระบือจะมีช่วงห่างการตกลูก
ประมาณ 13-14 เดือน ส่วนลูกกระบือก็ยังมีการเจริญเติบโตเป็นปกติ โดยที่แม่กระบืออุ้มท้องลูกตัวต่อไปด้วย
ั
3.3 การจัดการฝูงผสมพันธุ์ กระบือเป็นสัตว์ที่สามารถผสมพนธุ์ได้ตลอดปี ไม่มีก าหนดเวลา
ั
ี
ปัจจัยที่ควบคุมการผสมพนธุ์จึงมีเพยงสภาพความสมบูรณ์ของร่างกายในช่วงหลังคลอดเท่านั้น โดยมีผลจาก
ปริมาณอาหารที่กินในแต่ละวัน และช่วงระยะการให้ผลผลิต แต่ส่วนใหญ่ในประเทศไทยกระบือมีช่วงฤดูกาล
คลอดลูกในราวเดือนตุลาคมจนกระทั่งถึงเดือนมกราคม เนื่องจากแม่กระบือส่วนใหญ่ของเกษตรกรมักได้รับ
การผสมพันธุ์หลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยวแล้ว ผืนท้องนาจะโล่งพอที่จะให้กระบือแทะเล็มหญ้าได้ตามใจชอบ เมื่อ
ุ้
ื่
ั
ได้รับอาหารสมบูรณ์เพยงพอแม่กระบือจะแสดงอาการเป็นสัดพร้อมรับการผสมพนธุ์เพออมท้องลูกออนตัว
่
ี
ื้
ต่อไป ซึ่งในช่วงฤดูท านากระบือจะถูกผูกล่ามให้อยู่ในพนที่จ ากัด กระบือบางตัวอาจแสดงอาการเป็นสัด แต่
ไม่ได้รับการผสมพนธุ์เนื่องจากเจ้าของมัวแต่เตรียมพนที่ท านา ไม่ค่อยมีเวลาดูแลกระบือมากนัก จนกระทั่ง
ื้
ั
ิ
หลังจากเกี่ยวข้าวเสร็จเรียบร้อย กระบือจะถูกปล่อยเลี้ยงอย่างอสระ และได้รับการผสมพนธุ์ กระบือพอพนธุ์
ั
่
ั
ั
ในท้องถิ่นบางตัวถูกเลี้ยงไว้นานเกินไปไม่มีการควบคุม จะผสมพนธุ์กับลูกหลานซึ่งเป็นการผสมเลือดชิดหรือ
ผสมระหว่างเครือญาติ ท าให้เกิดการแสดงออกของลักษณะด้อยที่แอบแฝงอยู่ เช่น ขนาดร่างกายเล็กลง
เจริญเติบโตช้าลง เป็นสัดช้า ผสมไม่ติด เป็นต้น การผสมพนธุ์ของกระบือในท้องถิ่นไม่มีการจัดการควบคุม
ั
ั
ั
ั
ก ากับ ท าให้โอกาสการพฒนาพนธุกรรมของกระบือมีน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย ดังนั้นการจัดการผสมพนธุ์
กระบือจึงมีความส าคัญอย่างมาก สามารถก าหนดสภาพโครงสร้างร่างกายกระบือในอนาคตได้ เช่นเดียวกับ
ั
การพฒนาพนธุกรรมของโคนม เนื่องจากกระบือเป็นสัตว์เลี้ยงประจ าถิ่นในเขตร้อนชื้นอย่างประเทศไทย
ั
ั
สามารถปรับตัวได้ดี เจริญเติบโตได้เร็วเช่นเดียวกันหากได้รับการเลี้ยงดูเป็นอย่างดี ดังนั้นการจัดการผสมพนธุ์
ื่
จึงมีความส าคัญมากในระดับต้น ๆ ของการเลี้ยงกระบือ ต้องเอาใจใส่การจัดการผสมพนธุ์กระบือ เพอให้ได้
ั
กระบือที่ดีที่สุดมาเลี้ยงและขยายพันธุ์ต่อไป
คุณสมบัติที่ดีของกระบือที่ควรน ามาใช้เป็นแม่พนธุ์ได้แก่ ควรมีอายุ 3 ปีขึ้นไป น้ าหนักไม่น้อยกว่า
ั
ั
400 กิโลกรัม แม่กระบือที่ผ่านการอมท้องและให้ลูกมาแล้วจัดเป็นแม่พนธุ์ที่ดี เนื่องจากเต้านมแม่ได้รับการ
ุ้
ื
38 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ