Page 47 -
P. 47
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ื
ิ
์
ิ
จากแม่ หากได้รับอาหารเสริมกระบือเพศผู้หย่านมก็มีอตราการเจริญเติบโตสูง 700-800 กรัมต่อวันอย่าง
ั
ต่อเนื่อง น้ าหนักหย่านมเมื่ออายุ 8 เดือน ประมาณ 250-300 กิโลกรัม อายุ 1 ปี น้ าหนักประมาณ 350-
400 กิโลกรัม ช่วงอายุหลังจากหย่านมจนถึงอายุ 1 ปี เป็นช่วงที่เหมาะในการน ามาขุนมากที่สุด เนื่องจากเป็น
ั
ช่วงที่มีอตราการเจริญเติบโตสูงที่สุดของชีวิตกระบือ ก่อนน ามาขุนควรท าการถ่ายพยาธิและฉีดวัคซีน
ให้เรียบร้อย เมื่ออายุ 2 ปี จะมีน้ าหนัก 500-600 กิโลกรัม กระบือจะเริ่มฝึกการปีนทับเพศเมีย แต่เนื่องจาก
ั
ยังมีขนาดเล็กอยู่ จึงยังไม่สามารถใช้เป็นพอพนธุ์ได้ หลังจากอายุ 3 ปีไปแล้ว จะมีน้ าหนัก 700-800 กิโลกรัม
่
หรือมากกว่า มีขนาดใหญ่กว่าแม่พันธุ์จะสามารถเริ่มใช้เป็นพ่อพันธุ์ได้ หากต้องการรีดน้ าเชื้อเพื่อการผสมเทียม
ควรได้รับการฝึกตั้งแต่อายุ 2 ปี เพื่อให้พ่อพันธุ์มีความเคยชินกับวิธีการรีดน้ าเชื้อ เพื่อการผสมเทียม
ื่
ั
่
พอพนธุ์กระบือควรได้รับการฉีดวัคซีนตามก าหนด เพอสร้างภูมิคุ้มกันโรค รวมทั้งป้องกันการติดต่อ
ั
ของโรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น พอพนธุ์กระบืออายุน้อยกว่า 3 ปี ใช้ผสมกับแม่กระบือสาวหรือกระบือที่มีขนาดเล็ก
่
อัตราการใช้ผสมพันธุ์สัปดาห์ละไม่เกิน 2 ครั้ง เนื่องจากยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ การใช้อัตราการผสมพนธุ์มาก
ั
เกินไป จะท าให้การเจริญเติบโตช้าลง ดังนั้นพ่อพันธุ์อายุน้อยควรได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม ได้รับอาหารที่มี
คุณค่าและสมดุลทางโภชนะ เพื่อให้สามารถเจริญเติบโตเป็นพ่อพันธุ์ขนาดใหญ่ที่มีคุณภาพดี
ั
่
ั
พอพนธุ์ที่โตเต็มวัยมีขนาดใหญ่สามารถผสมพนธุ์ได้ทุกวัน แต่ต้องได้รับการเลี้ยงดูด้วยอาหารที่ดี
อย่าให้มีสภาพร่างกายอวนหรือผอมเกินไป ควรแยกคอกพอพนธุ์ออกต่างหากจากคอกแม่พนธุ์เพอป้องกัน
ื่
ั
้
่
ั
ุ
ั
ื่
อันตรายหรืออบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในเวลากลางคืน ในช่วงเวลาเช้าตรู่ควรใช้วิธีจูงพ่อพนธุ์เพอตรวจการเป็นสัด
ของกระบือแม่พันธุ์ในแต่ละวัน หากมีแม่กระบือตัวใดเป็นสัด พ่อพันธุ์จะเฝ้าติดตามแม่กระบือตัวนั้นตลอดเวลา
จนกว่าจะยอมรับการผสมพันธุ์ พ่อพันธุ์ควรได้รับอาหารหยาบอย่างเพยงพออาจเสริมอาหารข้นหรืออาหารอน
ื่
ี
ในช่วงเวลาเช้าเย็นหากมีสภาพร่างกายผอมเกินไป หากพ่อพันธุ์กระบือมีสภาพร่างกายอ้วนเกินไปอาจส่งผลให้
ั
ั
การปีนทับแม่พนธุ์ล าบาก แม่พนธุ์ที่มีขนาดเล็กเกินไปจะรองรับน้ าหนักพอพนธุ์ไม่ไหว ท าให้ขาหักได้
ั
่
และส่งผลให้ความสมบูรณ์พนธุ์ของน้ าเชื้อลดลง ท าให้อตราการผสมติดต่ าลง พอพนธุ์กระบือควรได้รับการ
ั
่
ั
ั
ั
ั
ั
่
ั
ดูแลอย่างใกล้ชิดกว่าแม่พนธุ์ เนื่องจากในช่วงฤดูผสมพนธุ์พอพนธุ์จะต้องผสมพนธุ์กับแม่พนธุ์ทุกตัวที่แสดง
ั
อาการเป็นสัด และยอมรับการผสมพันธุ์
คุณลักษณะของกระบือพอพันธุ์ ควรมีอายุไม่น้อยกว่า 3 1/2 ปี มีขนาดใหญ่ มีลักษณะตรงตามพนธุ์
่
ั
ล าตัวตรง อกใหญ่ ขาหลังใหญ่ กีบเท้าทั้งสี่ใหญ่สวยงาม ขณะยืนขาตรงไม่โก่งงอ หน้าผากใหญ่สวยงาม มี
ขนาดใหญ่ น้ าหนักมากกว่าแม่พนธุ์พอประมาณ พอพนธุ์ที่มีขนาดใหญ่เกินไปขณะผสมพนธุ์แม่พนธุ์จะรับ
่
ั
ั
ั
ั
ั
ั
น้ าหนักไม่ไหว อาจท าให้แม่พนธุ์ขาหักได้ พ่อพนธุ์ควรมีนิสัยดี อารมณ์เย็น ไม่ดุร้าย เชื่อง สามารถถ่ายทอด
ลักษณะพนธุ์กรรมที่ดีไปยังลูกหลานได้ดี หากมีการใช้พอพนธุ์คุมฝูง ควรระมัดระวังเรื่องการผสมเลือดชิด
ั
ั
่
ดังนั้นควรใช้พ่อพันธุ์แต่ละตัวคุมฝูงไม่เกิน 3-4 ปี หากไม่มีการแยกลูกกระบือออกจากฝูง
ปัญหาที่พบซึ่งจะท าให้อัตราการผสมติดของแม่กระบือในฝูงจะลดลง เช่น
โรคตาสีชมพู (pink eye) โดยผิวหนังจะแห้งลอกเป็นสะเก็ดและมีแมลงหวี่กัดกินผิวหนังที่ลอกหลุด
นั้น หากพบว่ากระบือมีน้ าตาไหล รอบดวงตามีสีชมพู อาจใช้ยาป้ายตาหรือหยอดตาจะช่วยให้หายเร็วขึ้น หาก
พบฝ้าขาวบนตาด าให้รีบท าการรักษาโดยด่วน อาจท าให้ตาบอดได้ ซึ่งมักเกิดขึ้นในช่วงปลายฤดูฝนที่มีแมลงหวี่
จ านวนมาก ท าให้ติดเชื้อได้ง่าย แมลงหวี่จะกินเซลล์ผิวหนังที่ตายแล้วและลอกหลุด ท าให้เกิดแผลเป็นวงกว้าง
คล้ายกลากเกลื้อน มักเกิดขึ้นในช่วงต้นฤดูหนาวซึ่งกระบือจะมีผิวหนังแห้งแตกเป็นสะเก็ด เนื่องกระบือไม่ค่อย
ื่
ได้ลงนอนแช่ในปลัก หากพบเห็นให้ใช้น้ ามันพชทาบริเวณดังกล่าวและโรยแผลด้วยก ามะถันผง เพอป้องกัน
ื
แมลงหวี่มากัดกิน และพยายามอาบน้ าให้กระบือบ่อยมากขึ้น จะท าให้ผิวหนังมีความชุ่มชื้นมากขึ้น
ื
40 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ