Page 42 -
P. 42
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
์
ิ
ื
ิ
ิ
มักจะแยกตัวออกจากฝูง หาสถานที่ที่ถูกรบกวนน้อยที่สุดส าหรับเป็นสถานที่คลอดลูก การคลอดลูกตั้งแต่
เริ่มต้นกระวนกระวายผุดลุกยืนไปจนถึงคลอดลูกเสร็จสิ้นใช้เวลาประมาณ 1/2 ถึง 1 ชั่วโมง หรืออย่างช้าที่สุด
ไม่เกิน 2 ชั่วโมง หากนานกว่านี้แสดงว่าแม่กระบือแสดงอาการคลอดยาก ซึ่งอาจมาจากหลายสาเหตุ ได้แก่ แม่
กระบือผอมไม่มีแรงเบ่ง ลูกกระบือคลอดผิดท่า หรือขนาดของลูกกระบือใหญ่เกินไป ท าให้ไม่สามารถคลอดลูก
ได้ ควรดูแลการคลอดให้เป็นไปตามปกติ หากไม่มีปัญหาใด ๆ การคลอดส่วนใหญ่จะเป็นไปตามธรรมชาติ
หลังจากที่คลอดลูกแล้วแม่กระบือจะกินรกที่ห่อหุ้มตัวลูก และเลียตัวลูกให้แห้ง เพอเป็นการท าความสะอาด
ื่
และกระตุ้นการหายใจของลูกให้มากขึ้น ภายใน 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมง ลูกกระบือจะเริ่มยืนและเดินหาเต้านม
ื่
แม่เพอดูดกินนม เมื่อกินนมเหลืองจากแม่แล้วลูกกระบือจะขับขี้เทาซึ่งเป็นของเสียที่ค้างอยู่ในทางเดินอาหาร
ออกมา มีลักษณะสีน้ าตาลเข้มหรือสีด า จากนั้นจะดูดกินนมแม่อยู่ตลอดโดยไม่ต้องเสริมอาหารใด ๆ ส่วนตัว
ื่
แม่กระบือหลังคลอดจะต้องได้รับอาหารเสริมมากขึ้นเพอใช้ในการรักษาสภาพร่างกายที่สูญเสียไปในช่วงอม
ุ้
ท้อง และเพอสร้างน้ านมเลี้ยงลูก ควรเสริมอาหารข้นวันละ 1-2 กิโลกรัม โดยพยายามสังเกตสภาพร่างกาย
ื่
ของแม่กระบืออยู่เสมอ อย่าให้มีร่างกายผอมจนมองเห็นกระดูกซี่โครงและกระดูกสันหลัง เมื่อลูกกระบืออายุได้
1 เดือน จะเริ่มกินหญ้า และอาหารอนบ้าง แต่ก็ยังดูดกินนมแม่เป็นหลักอยู่ มูลลูกกระบือจะเริ่มเปลี่ยนจากสี
ื่
เหลืองออนเป็นสีออกเขียว ซึ่งจะค่อย ๆ เพมความเข้มข้นขึ้นเรื่อย ๆ ตามปริมาณหญ้าที่ลูกกระบือกินเข้าไป
่
ิ่
เมื่ออายุได้ 2-3 เดือน กระเพาะหมักจะเริ่มขยายขนาดให้ใหญ่ขึ้น เนื่องจากมีจุลินทรีย์มาอาศัยอยู่ เริ่มมีการ
หมักย่อยอาหารหยาบมากขึ้น จนกระทั่งเมื่ออายุ 4-6 เดือน กระเพาะหมักจะสามารถท างานได้ประมาณ 80
เปอร์เซ็นต์ของกระบือโตเต็มวัย ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวแม่กระบือเริ่มให้นมน้อยลง แต่ความต้องโภชนะของลูก
กระบือสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในช่วงนี้ลูกกระบือจะมีอตราการเจริญเติบโตได้สูงถึงวันละ 800-1000 กรัมต่อวัน ขึ้นอยู่
ั
กับปริมาณอาหารที่กิน เมื่ออายุได้ 8 เดือน จะมีน้ าหนักตัวประมาณ 200-250 กิโลกรัม ส่วนตัวแม่กระบือ
หลังคลอดเมื่อได้รับอาหารเพมขึ้นสภาพร่างกายจะสมบูรณ์ขึ้น ภายใน 45-60 วันหลังคลอดจะสามารถแสดง
ิ่
อาการกลับสัดให้เห็น ถ้าได้รับการผสมพนธุ์จะสามารถอมท้องครั้งต่อไปได้ทันทีที่มีการผสมติด ซึ่งจะช่วยย่น
ุ้
ั
ระยะเวลาช่วงห่างการตกลูกให้สั้นลงเท่าที่จะเป็นไปได้ ลดความสูญเสียในแง่ของเวลาที่ผ่านไปโดยเปล่า
ประโยชน์ หากเป็นไปตามก าหนดนี้ ช่วงห่างการตกลูก (calving interval) จะลดลงเหลือเพยง 13-14 เดือน
ี
เท่านั้น ดังนั้นจุดส าคัญของประเด็นดังกล่าวจึงอยู่ที่ช่วงเวลาท้องว่างจนกระทั่งถึงช่วงเวลาผสมติด (service
period) หากมีช่วงสั้นแสดงว่ามีประสิทธิภาพสูง ซึ่งมาตรฐานก าหนดไว้ไม่ควรเกิน 100 วัน ลูกกระบือหลังจาก
ื่
หย่านมจะมีความต้องการอาหารเพอการเจริญเติบโตของร่างกายและการพฒนาของระบบต่าง ๆ อย่าง
ั
ื่
สมบูรณ์ ต้องได้รับอาหารหยาบและน้ า รวมทั้งแร่ธาตุอย่างเพียงพอ อาจเสริมอาหารข้นช่วงเวลาเช้า-เย็น เพอ
เพมน้ าหนักตัวโดยเร็ว เมื่ออายุ 1 ปี เพศผู้จะมีน้ าหนักประมาณ 350-400 กิโลกรัม เพศเมียน้ าหนักประมาณ
ิ่
300-350 กิโลกรัม เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่กระบือมีการเจริญเติบโตสูงที่สุดของช่วงชีวิต (อายุ 1-2 ปี) มีการ
ตอบสนองต่ออาหารที่ได้รับมากที่สุด ควรดูแลสังเกตการเปลี่ยนแปลงการตอบสนองของกระบืออย่างใกล้ชิด
ื่
เพราะเป็นช่วงที่ร่างกายมีการพัฒนาด้านโครงสร้าง และระบบต่าง ๆ ให้สมบูรณ์เพอเปลี่ยนเป็นกระบือโตเต็ม
ั
วัยพร้อมส าหรับการผสมพนธุ์ เมื่ออายุ 2 1/2 ถึง 3 ปี หากเป็นแม่พนธุ์ ควรมีน้ าหนักประมาณ 400-500
ั
กิโลกรัม ส่วนพ่อพันธุ์จะมีน้ าหนัก 700-800 กิโลกรัม ดังนั้นปัจจัยเรื่องอาหารจึงเป็นปัจจัยหลักทมีอทธิพลต่อ
ิ
ี่
การผลิตกระบือเป็นอย่างมากและมีผลอย่างต่อเนื่อง การเว้นช่วงหรือปล่อยปละละเลยจะท าให้ประสิทธิภาพ
การผลิตลดลงหรือหยุดชะงักตลอดไป
3. การจัดการ เป็นการดูแลกระบือให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เป็นอยู่ ควรศึกษาพฤติกรรม
ื้
กระบือที่เลี้ยงว่ามีนิสัยอย่างไร ต้องรู้ข้อมูลพนฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมกระบือ เกี่ยวกับความเป็นอยู่ นิสัยการ
กินอาหาร การผสมพนธุ์ การระบายความร้อน และการถ่ายมูล ตลอดการอยู่รวมฝูงของกระบือ กระบือมี
ั
คู่มือการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ | 35