Page 38 -
P. 38

ิ
                                               ์
                               ื
                                  ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                             ิ
                                            ิ


                              3. การอักเสบ เกิดจากการติดเชื้อที่มักพบได้บ่อย ดังนี้
                                     - ตาอกเสบ ลูกกระบือมีอาการน้ าตาไหล ตาแดงมีขี้ตา ถ้าปล่อยไว้นานนัยน์ตาจะ
                                          ั
               เป็นฝ้าขาว หนังขอบตาจะปลิ้นและตาบอดในที่สุด ถ้าการอกเสบที่เกิดจากเศษหญ้าทิ่มตา น้ าตาจะไหล
                                                                   ั
               ตลอดเวลา มีการอกเสบเป็นจุด ก่อนรักษาให้เอาเศษหญ้าออกก่อน รักษาโดยใช้ยาปฏิชีวนะหยอด เช้า-เย็น
                               ั
               จนกว่าจะหาย
                                     - สะดืออักเสบ ปกติสายสะดือจะแห้งและหลุดตามธรรมชาติ ประมาณ 3-7 วันหลัง

                         ั
                                                          ื้
               คลอดการอกเสบของสะดือเกิดจากการติดเชื้อจากพนคอกที่สกปรก โดยเฉพาะฤดูฝน หรือเกิดจากการเหยียบ
               ของแม่ หรือเกี่ยวลวดหนามท าให้สะดือหลุดเร็วกว่าปกติ สะดือขาดมีเลือดไหล ท าให้แมลงวันไขใส่ เป็นหนอน
                                                                                              ่
                        ั
               เจาะบวมอกเสบ ส าหรับการรักษา หากดูจากภายนอกถ้ามีการอักเสบจะคล้ายไส้เลื่อน แต่ถ้าจับดูจะร้อนบวม
               แดงมีหนองอยู่ภายใน จะต้องท าการเจาะหนองออก พร้อมขูดเนื้อตาย แล้วล้างด้วยทิงเจอร์ไอโอดีน พ่นยากัน
                                                                                ุ
                                                         ั
               แมลงวัน แต่ถ้าหากโพรงของสะดือใหญ่ควรใช้ผ้าพนแผลชุบทิงเจอร์ไอโอดีน อดโพรงไว้ แล้วหมั่นดูแลท าแผล
               ทุก 2 วัน จนกว่าแผลจะหายเป็นปกติ และให้พ่นยาฆ่าแมลงวันหลังจากท าแผลทุกครั้ง
                                                                    ึ
                                     - ไส้เลื่อน ไส้เลื่อนเป็นลักษณะไม่พงประสงค์ เกิดจากกล้ามเนื้อช่องท้องหย่อน
                                                                 ั
               สมรรถภาพ ท าให้ล าไส้ออกมาตรงสะตือ มองดูคล้ายสะดืออกเสบ แต่เมื่อสัมผัสและบีบดูจะรู้สึกได้ว่าขึ้น-ลงได้
               วิธีการรักษา โดยการผ่าตัดมัดล าไส้คืน แล้วเย็บกล้ามเนื้อช่องท้องเข้าหากัน แต่ในทางปฏิบัติไม่นิยมรักษา
               เนื่องจากยุ่งยาก และลงทุนสูง อีกประการหนึ่งเมื่อลูกกระบือโตขึ้นจะหายเองและตัวที่เป็นไส้เลื่อนควรขายคัด
               ออกจากฝูงเป็นเนื้อ เนื่องจากเป็นลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุ์กรรมสู่ลูกหลานได้


                       2.6 การหย่านมลูกกระบือ
                           การหย่านมเกี่ยวข้องกับการสิ้นสุดการดูแลใกล้ชิดจากแม่กระบือ การหย่านมในธรรมชาติ
               เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ โดยแม่กระบือจะค่อยๆ ลดความถี่ในการดูแลและการให้ลูกดูดนมจนลูก
               กระบือเลิกดูดนมไปในที่สุด

                                                                         ื้
                                                                            ู
                           การหย่านมลูกกระบือได้เร็วเท่าไรก็จะท าให้แม่กระบือฟนฟสุขภาพได้เร็วเท่านั้น โดยทั่วไปจะให้
               ลูกกระบือหย่านมเมื่ออายุ 8 เดือน หรือ 240 + 22 วัน เพราะอายุลูกกระบือขนาดนี้สามารถกินหญ้าได้อย่าง
               เต็มที่แล้ว และเป็นการลดภาระของแม่กระบือในการใช้อาหารมาสร้างน้ านมและเตรียมพร้อมส าหรับการผสม

               ใหม่อีกครั้ง การปล่อยใหลูกกระบืออยู่กับแม่จนโตจนกระทั่งแม่กระบือคลอดลูกตัวใหม่ ซึ่งจะมีผลเสียท าใหแม่
                                                                  ิ
                                                                           ื่
                           ุ
               กระบือขณะอมทองใกลคลอดมีสุขภาพไม่สมบูรณเพราะตองกนอาหารเพอเลี้ยงทั้งลูกกระบือที่ก าลังอยู่ในทอง
               และลูกกระบือตัวเดิมอีกด้วย
                           การหย่านมแบบเดิมที่ได้ปฏิบัติกันอยู่ จะใช้วิธีพรากลูกกระบือจากแม่กระบือแบบฉับพลัน
               การบังคับให้ลูกกระบือแยกห่างจากแม่กระบือท าให้เกิดความเครียดขึ้น ทั้งแม่กระบือและลูกกระบือ ส่งผลให้
               การเจริญเติบโตของลูกกระบือลดลง จึงได้มีการพัฒนาวิธีการหย่านมแบบทางเลือกมี ดังนี้
                           2.6.1 หย่านมโดยใช้แนวรั้วกั้น (Fenceline Weaning) การหย่านมโดยใช้แนวรั้วกั้น เป็นการ
               แยกแม่กระบือออกจากลูกกระบือแต่ยอมให้ลูกกระบือได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่นของแม่กระบือที่อยู่ในทุ่งหญ้าฝั่ง

               ตรงข้ามโดยมีรั้วกั้นเอาไว้ ลูกกระบือสามารถพบเจอและมีปฏิสัมพนธ์กับแม่ได้ตลอด 24 ชั่วโมง แต่มีข้อแม้ว่า
                                                                      ั
               ลูกกระบือต้องไม่สามารถดูดนมแม่ได้อย่างเด็ดขาด
                           2.6.2 หย่านมโดยใช้อุปกรณ์ป้องกันการดูดนม (Plastic anti-suckling device , Weaning
                      ุ
               Ring) อปกรณ์ป้องกันการดูดนม มีหลายแบบ ทั้งแบบพลาสติก หรือแผ่นห่วงติดจมูกส าหรับหย่านมมาใช้กับ
                                            ุ
               ลูกกระบือ หลักการใช้งานคือ น าอปกรณ์ดังกล่าวสวมเข้าไปที่รูจมูกทั้งสองข้าง โดยให้ส่วนที่เป็นปุ่มเดือยโค้ง


                                                             คู่มือการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ | 31
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43