Page 33 -
P. 33

ิ
                                                                 ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                               ื
                                                                             ิ
                                            ิ
                                               ์

                           - จูงพอพนธุ์กระบือเข้าคุมฝูงในเวลากลางคืน ตอนเช้าจูงกลับเข้าคอกขังเดี่ยวหรือผูกล่ามตาม
                                ่
                                  ั
               แปลงหญ้า และออกก าลังกาย
                           - ระยะเวลาที่ใช้พ่อพันธุ์กระบือคุมฝูง 100 วัน (แม่พันธุ์กระบือมีโอกาสเป็นสัด 4-5 รอบ)
                           - ครบก าหนด 100 วัน หยุดจูงพ่อพันธุ์กระบือเข้าผสม หลังจากนั้นอีก 2 เดือน ท าการตรวจท้อง
                                                                                                ั
                                                   ั
                                                                                      ั
                           - เมื่อตรวจท้องแล้ว หากแม่พนธุ์กระบือไม่ตั้งท้อง ให้น าจัดเข้าฝูงผสมพนธุ์ใหม่ แม่พนธุ์ กระบือ
               เมื่อน าเข้าฝูงผสมพันธุ์แล้ว 2 รอบ พบว่าไม่ตั้งท้อง ให้พิจารณาคัดทิ้ง
                       2.2 การจัดการฝูงกระบือท้อง
                              กระบือตั้งท้องประมาณ 310 – 337 วัน (10.5 – 11 เดือน) ในระหว่างที่แม่กระบืออมท้อง
                                                                                                     ุ้
               ควรงดการใช้งานแม่กระบือที่ตั้งท้องในระยะแรก 1 – 2 เดือนแรก ควรงดการกระทบกระแทกเพราะโอกาส

               แท้งมีสูง น าแม่พนธุ์กระบือที่มีอายุการตั้งท้องที่ใกล้เคียงกัน รวมเข้าคอกกระบือจ านวน 20-25 ตัว การที่น า
                              ั
                    ั
               แม่พนธุ์กระบือที่มีอายุการตั้งท้องใกล้เคียงกันมารวมอยู่คอกเดียวกันนั้นก็เพอง่ายต่อการสังเกตการ
                                                                                    ื่
               เปลี่ยนแปลงของแม่พันธุ์กระบือ โดยแม่พันธุ์กระบือที่ตั้งท้องจะกินอาหารมากขึ้น ร่างกายจะสมบูรณ์ หรืออ้วน
               ขึ้น

                                  ั
                       การดูแลแม่พนธุ์กระบือที่ตั้งท้องจ าเป็นต้องดูแลอย่างใกล้ชิด หมั่นสังเกตอาการผิดปกติ โดยเฉพาะ
                                                          ั
               เรื่องสุขภาพและการเจ็บป่วย ระวังอย่าให้แม่พนธุ์กระบือที่ตั้งท้องได้รับการกระทบกระเทือนรุนแรง
               โดยเฉพาะการน าแม่พนธุ์กระบือที่ตั้งท้องเข้าปฏิบัติการในคอกคัดสัตว์ ต้องท าด้วยความนุ่มนวลและ
                                   ั
               ระมัดระวังเป็นพิเศษ
                                                                                                  ื
                                                                                   ิ
                       ในระยะนี้ควรให้อาหารทีมีคุณภาพเพ่อแม่กระบือจะได้มีน้ าหนักตัวเพ่มขึ้นเตรียมตัวเพ่อชดเชย
                                                       ื
               น้ าหนักที่จะสูญเสียเมื่อคลอด โดยเฉพาะในแม่กระบือสาวเป็นสิ่งที่จ าเป็นอย่างมาก คะแนนร่างกายของ
               แม่พนธุ์กระบือที่ตั้งท้องควรอยู่ระดับ 4 หมายถึง อวนสมบูรณ์ แต่ไม่อวนมาก อย่าให้แม่พนธุ์กระบือที่ตั้ง
                                                           ้
                   ั
                                                                                             ั
                                                                            ้
               ท้องผอม เพราะจะเกิดปัญหาตามมาอย่างต่อเนื่อง เช่น อาจแท้ง คลอดยาก รกค้าง ลูกอ่อนแอตัวเล็ก
               น้ านมแห้ง การกลับสัดช้า ท าให้ช่วงห่างการให้ลูกยาวขึ้น
                       แม่พนธุ์กระบือที่ท้องแก่ อายุการตั้งท้อง 8 - 10 เดือน ควรให้อยู่ในคอกที่ไม่มีปลัก เนื่องจากการ
                           ั
                                        ุ
               เคลื่อนไหวที่ล าบากอาจเกิดอบัติเหตุจากการขึ้นลงปลัก หรือหากมีการคลอดลูกตอนกลางคืนอาจท าให้ลูก
               กระบือจมบ่อปลักตายได้ และควรให้แม่พันธุ์กระบือใกล้คลอดเดินออกไปแทะเล็มหญ้าใกล้ๆ คอก
                       การสังเกตอาการของแม่พันธุ์กระบือที่ใกล้คลอด สามารถสังเกตจากลักษณะภายนอก ได้ดังนี้
                      -  เต้านมขยายใหญ่ บวม ตึง คัด มองเห็นเส้นเลือดที่มาหล่อเลี้ยงเต้านม ชัดเจน
                      -  บริเวณกระดูกเชิงกรานขยายออก ท าให้เห็นเนื้อบริเวณโคนหางยุบตัวลงเป็นร่องลึกกว่าปกติ

                      -  อวัยวะเพศ ขยาย บวมใหญ่ขึ้น
                      -  ท้องบริเวณ “สวาป” ลดต่ าลง มองเห็นเป็นร่องลึกเรียกว่า “อาการตกท้อง” มีน้ าเมือกเหนียว   สี
                          ขาวขุ่น ไหลออกทางช่องคลอด
                      2.3 การจัดการแม่กระบือคลอดลูก

                                         ั
                                                                                            ั
                           เมื่อพบเห็นแม่พนธุ์กระบือที่บ่งบอกลักษณะอาการใกล้คลอด ควรแยกแม่พนธุ์กระบือออก
                                                                                               ื้
                                                                ื้
               มาแล้วน าเข้าคอกคลอด คอกกระบือคลอดควรเป็นคอกพนดิน หากมีฟางหรือหญ้าแห้งปูรองพนไว้จะดีมาก
                                                                                ื้
               แต่ถ้าเป็นพนปูนซีเมนต์ ต้องมีหญ้าแห้ง หรือฟางรองพนคอก ไม่ควรเป็นพนปูนขัดมัน เพราะจะท าให้ลูก
                                                               ื้
                         ื้
               กระบือที่คลอดใหม่ลื่น ไม่สามารถลุกขึ้นยืนดูดนมแม่ได้สะดวก บริเวณใกล้คอกคลอดควรมีแปลงหญ้าที่
               สมบูรณ์ ไม่มีน้ าขัง เพอที่จะปล่อยให้แม่พนธุ์กระบือที่รอคลอดหรือคลอดลูกใหม่ๆ ออกไปแทะเล็มหญ้าใกล้ๆ
                                  ื่
                                                  ั
               ซึ่งคนเลี้ยงจะสามารถดูแลได้อย่างใกล้ชิด หากพบปัญหาในการคลอด สามารถช่วยเหลือได้ทัน
                       ื
               26 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38