Page 34 -
P. 34
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
การคลอดลูกของแม่กระบือสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้
- ระยะแรก เป็นช่วงการเตรียมตัวคลอดในแม่กระบือ สังเกตเป็นอาการกระวนกระวาย ส่วน
ของโคนหางมองดูเหมือนยกสูงขึ้นอันเกิดจากพังผืด 2 ข้าง โคนหางหย่อนตัวลงมาก เต้านมซึ่งขยายใหญ่จะเริ่ม
มีน้ านม
- ระยะที่สอง คือระยะเบ่งคลอด ควรจัดเตรียมคอกคลอดที่แห้งและสะอาดให้แม่กระบือ ระยะนี้
กินเวลาได้ตั้งแต่ครึ่งชั่วโมงถึง 4 ชั่วโมง โดยส่วนใหญ่แม่กระบือมักจะนอนหมอบบนหน้าอก ในการคลอด นั้น
ปกติ ระยะเวลาตั้งแต่ถุงน้ าคร่ าแตกจนถึงขับลูกออกมากินเวลา 20-30 นาที แต่ถ้าสังเกตเห็นถุงน้ าคร่ าแตกแต่
ลูกกระบือยังไม่ออกเกิน 2 ชั่วโมงให้รีบตามสัตวแพทย์ทันที
- ระยะที่สาม คือระยะที่ลูกกระบือเคลื่อนตัวผ่านมดลูกออกมาทางช่องคลอด โดยท่าปกติในการ
คลอด คือ ลูกกระบือจะยื่น 2 ขาหน้าออกมาก่อน หัวของลูกกระบือวางอยู่บน 2 ขาหน้าปลายจมูกอยู่บริเวณ
เข่าหน้า ถ้าลูกกระบือไม่ได้อยู่ในท่าปกตินี้ มักจะเกิดปัญหาคลอดยากเสมอ
ปัญหาการคลอดยาก มีมากมายหลายสาเหตุด้วยกัน เช่น
- ลักษณะผิดปกติของลูกกระบือ เช่น หัวโต มี 5 ขา หรือวางตัวในท่าผิดปกติเช่น คอพับ หรือขา
พับไปข้างหลัง เป็นต้น
- การให้อาหารและการเลี้ยงดูไม่ดีพอ ท าให้มีผลต่อการคลอด เช่น ผสมกระบือสาวที่มีขนาดเล็ก
เกินไป
- เลี้ยงจนแม่กระบืออวนเกินไป หรือไม่ได้ให้แม่กระบือออกก าลังกายขณะตั้งท้อง ท าให้แม่
้
กระบืออ่อนแอขณะคลอด
- เคยมีการติดเชื้อที่มดลูกซึ่งมีผลให้ปีกมดลูกยึดติดกับอวัยวะภายในอื่น ๆ
- เคยมีการหักของกระดูกเชิงกรานมาก่อน เช่น เกิดอุบัติเหตุท าให้ช่องเชิงกรานบิดเบี้ยวผิดปกติ
- มดลูกไม่มีแรงบีบตัว หรือมดลูกล้า เนื่องจากขาดแร่ธาตุขณะตั้งท้อง เช่น ขาดแคลเซียม
ข้อควรปฏิบัติเมื่อพบปัญหาการคลอดยาก โดยถ้าเห็นถุงน้ าคร่ าแตกเกินครึ่งชั่วโมงแล้วลูกกระบือ
ยังไม่ออกมาให้ปฏิบัติ ดังนี้
- ล้างส่วนบริเวณปากช่องคลอดแม่กระบือ รวมทั้งมือ และแขนของเจ้าของ ให้สะอาดด้วยสบู่
หลายๆ ครั้ง และถ้ามียาฆ่าเชื้อให้ผสมจางๆ ล้างอีกครั้ง ใช้สบู่ หรือน้ ามันฟาราทินเหลวๆ ชโลมแขนให้ทั่วเพอ
ื่
หล่อลื่น
ั
- จัดท่าลูกกระบือให้อยู่ในลักษณะปกติ โดยการดันลูกกระบือกลับเข้าไปก่อน เมื่อแม่กระบือพก
การเบ่ง แล้วจึงจัดดึงให้ขา หรือคอที่บิดพบกลับมาอยู่ในท่าปกติ การแก้ไขจัดท่าลูกกระบือนี้ เจ้าของจะท าได้
ั
เองต่อเมื่อท่านั้นไม่ผิดจากท่าปกติมากนัก แต่ถ้าลูกกระบืออยู่ในท่าผิดปกติมากจ าเป็นต้องให้สัตวแพทย์มา
แก้ไข
้
- หลังจากจัดท่าจนปกติแล้ว ใช้เชือกมะนิลาสะอาดผูกรูดที่บริเวณเหนือขอขาหน้าทั้ง 2 ข้าง แล้ว
ออกแรงดึงโดยดึงถ่วงๆ ลงล่าง ควรดึงเป็นจังหวะตามแรงเบ่งของแม่กระบือ
ั
- ในกรณีที่ลูกกระบือมีขนาดใหญ่มาก และยังไม่ตาย อย่าพยายามดึงออกมาเป็นอนขาด เพราะ
มักจะออกมาคาอยู่ ดึงต่อไม่ได้ ควรตามสัตวแพทย์ท าการแก้ไข
เมื่อแม่กระบือคลอดลูกแล้วให้ปฏิบัติดังนี้
1. เช็ดท าความสะอาดตัวลูกกระบือ
2. ตัดสายสะดือลูกกระบือ
คู่มือการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ | 27