Page 39 -
P. 39

ิ
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                            ิ
                                                                             ิ
                                                                 ิ
                                               ์

               เข้าหากันท าหน้าที่หนีบผนังที่กั้นระหว่างรูจมูกทั้งสองข้างเอาไว้ อุปกรณ์ดังกล่าวนี้จะช่วยป้องกันไม่ให้ลูก
               กระบือสามารถดูดนมแม่กระบือได้ แต่ยังสามารถกนหญ้าและมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับแม่ได้ตามปกติ หลังจาก
                                                         ิ
                                                                     ุ
                    ุ
               ที่ใส่อปกรณ์หย่านมไปได้ประมาณ 5 – 10 วัน ก็จะท าการถอดอปกรณ์ดังกล่าวออกพร้อมกับจับแยกออกจาก
               แม่กระบืออย่างถาวร
                                                ิ
                           2.6.3 การหย่านมโดยวธีแยกลูกออกจากแม วันที่ท าการหย่านมจะแยกลูกกระบือจากแม่
                                                                  ่
               กระบือ แล้วขังในคอกที่แข็งแรง ควรให้แม่กระบืออยู่ในแปลงหญ้าหรือคอกที่มีรั้วกั้นที่มั่นคงซึ่งอยู่ใกล้กันเป็น
               เวลา 3 – 5 วัน เพราะหากให้ไปอยู่ไกลแม่กระบือส่วนหนึ่งจะแหกรั้วหรือคอกมาหาลูกกระบือ หลังจาก 3 – 5
               วัน แม่กระบือจะเริ่มยอมรับสภาพและค่อย ๆ ห่างไปจนสามารถต้อนไปแปลงหรือคอกที่ห่างไกลได้ ขังลูก
               กระบือไว้ประมาณ 7 – 10 วัน ระยะนี้ควรฝึกให้ลูกกระบือคุ้นเคยกับการให้อาหารแร่ธาตุ การเข้าคอกคัด การ
               พ่นเห็บหรือซองต่าง ๆ และการไล่ต้อน ซึ่งจะมีความส าคัญในการให้ประสบการณ์แก่กระบือไปตลอด ที่ส าคัญ

               ก็คือควรเลี้ยงในแปลงหญ้าหรือคอกที่มีความมั่นคงแข็งแรงไม่ให้ลูกกระบือหนีได้ หากลูกกระบือสามารถหนีได้
               จะติดนิสัยไปตลอด

                         2.6.4 การชั่งน้ าหนัก และวัดสัดส่วน กระบือหย่านม

                         การชั่งน้ าหนัก และวัดสัดส่วนร่างกายกระบือหย่านม จะปฏิบัติเช่นเดียวกัน กับการชั่งน้ าหนักและ
               วัดสัดส่วนร่างกายกระบือแรกเกิด ดังนี้
                       - ความยาวล าตัว  (A) - (B) โดยวัดจากจุดปุ่มกระดูกที่หัวไหล่ (point-of-shoulder) ถึง จุดปุ่มกระดูก

               ที่สะโพก หรือกระดูกก้นกบ (point-of-rump or pin bone)
                       - ความยาวรอบอก (C) โดยวัดบริเวณซอกขาหน้า ก่อนกระดูกซี่โครงกระบือ (fore-ribs)
                       - ความสูง (D) โดยวัดตั้งฉากจากพื้นบริเวณขาหน้าจนถึงหลังบริเวณสันไหล่ (shoulder blade)

               2.7 การเลี้ยงกระบือหลังหย่านม

                         กระบือที่มีน้ าหนักหย่านมมากเมื่อเป็นแม่กระบืออาจผลิตน้ านมได้น้อยกว่ากระบือที่มีน้ าหนัก
               ปานกลางก็ได้ เนื่องจากกระบือที่โตเร็วก่อนหย่านมอาจสะสมไขมันในระหว่างการพัฒนาของเต้านม
                                                                           ั
                         การที่จะให้กระบือได้น้ าหนักตามเป้าหมายเมื่อถึงเวลาผสมพนธุ์อาจจ าเป็นต้องจัดกลุ่มลูกกระบือ
                                                                                 ื่
               ตั้งแต่หย่านม ลูกกระบือที่มีน้ าหนักหย่านมต่ าจ าเป็นต้องเลี้ยงดูเป็นอย่างดีเพอให้น้ าหนักเพมต่อวันสูงกว่า
                                                                                             ิ่
               พวกน้ าหนักหย่านมมาก และลูกกระบือที่มีน้ าหนักหย่านมสูงมากๆ อาจไม่จ าเป็นต้องให้อาหารเสริมก็ได้
               แต่ในระยะนี้อาจจ าเป็นต้องมีการถ่ายพยาธิให้กับกระบือทุกตัว
                         แปลงหญ้าส าหรับเลี้ยงลูกกระบือควรอยู่ห่างจากแปลหญ้าส าหรับเลี้ยงแม่กระบือพอสมควร

               ป้องกันการหย่านมไม่ขาดเพราะลูกกระบือจะกลับมาหาแม่กระบือได้ และควรเลี้ยงกระบือในระยะนี้ในแปลง
               หญ้าคุณภาพดี หากเป็นแปลงหญ้าคุณภาพต่ าควรมีการเสริมอาหารข้นมากขึ้น




               2.8 การจัดการกระบือสาว (2 ปี-เข้าผสมพันธุ์)
                                                                                                       ั
                         กระบือเพศเมียที่มีอายุตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไปหรือน้ าหนักตั้งแต่ 250 กก. จนถึงเข้าสู่วัยเจริญพนธุ์
               (puberty) หรือมีน้ าหนักตัวประมาณ 300 กก. (หรืออายุประมาณ 30 เดือน) วัยเจริญพนธุ์นั้นจะหมายถึง
                                                                                          ั
               ระยะที่กระบือมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะเพศทั้งขนาดและรูปร่าง ทั้งภายนอก และภายในร่างกาย



                       ื
               32 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44