Page 40 -
P. 40

์
                                                                             ิ
                                                                 ิ
                                            ิ
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                  ิ


                             ั
               มีการเจริญและพฒนาโดยเฉพาะรังไข่ โดยกระบือจะเริ่มผลิตฮอร์โมนเพศ มีการตกไข่ และแสดงอาการเป็นสัด
               โดยทั่วไปกระบือจะเริ่มเข้าสู่วัยหนุ่มสาวเมื่อมีน้ าหนัก 1 ใน 3 ของน้ าหนักตัวเมื่อโตเต็มที่ ซึ่งการที่กระบือ
                               ั
                                                                                       ั
               จะเข้าสู่วัยเจริญพนธุ์ได้ช้าหรือเร็วนั้น มีปัจจัยเข้ามาเกี่ยวข้องหลายประการ เช่น พนธุกรรม อาหาร อายุ
               การจัดการสิ่งแวดล้อมอื่นๆ
                       2.8.1 การให้อาหาร
                            ทุกเย็นเวลากระบือกลับคอก ควรเสริมอาหารข้น และจัดให้มีอาหารหยาบให้กินอยู่ตลอดเวลา

                                                                ิ
               และโดยเฉพาะอย่างยิ่งแร่ธาตุก้อน ต้องมีให้เลียหรือตั้งไว้อสระให้กระบือตลอดเวลา ควรเน้นให้มีการเสริมแร่
                                                                      ื่
               ธาตุ อาจให้ในรูปก้อน หรือแร่ธาตุผง ให้กระบือได้เลียอสระ เพอกระตุ้นให้กระบือมีการเจริญเติบโตด้าน
                                                               ิ
               โครงสร้างของร่างกาย และกระบือพร้อมที่จะสมบูรณ์พันธุ์เต็มที่ การเป็นสัดชัดเจน
                            จัดกลุ่มกระบือให้มีขนาดตัวหรือน้ าหนักที่ใกล้กันอยู่ในกลุ่มเดียวกัน กลุ่มหนึ่ง ๆ ไม่ควรมาก

               เกิน 20 ตัว เพราะจะเป็นปัญหาในการดูแล และต้องหมั่นสังเกตการเจริญเติบโตของกระบือในฝูงไปด้วย หาก
               พบว่าตัวใดมีการเจริญเติบโตช้าสุดก็จ าเป็นต้องเสริมอาหารข้น และแร่ธาตุแยกเป็นรายตัวไป
                                                                                       ิ
                            กรณีกระบือมีน้ าหนักต่ ากว่าเกณฑ์ให้เร่งการเลี้ยงหรือดูแลกระบือเป็นพเศษ จะได้ร่นเวลาการ
               ผสมติด ระยะเวลาที่ล่าช้าออกไปกี่เดือนจนถึงผสมติดนั้น จะมีผลยืดระยะเวลาจัดการในแต่ละช่วงออกไปเรื่อย ๆ

                       2.8.2 อายุ และน้ าหนักเมื่อเข้าฝูงผสมพันธุ์
                                               ั
                                                                                                       ั
                            กระบือสาวหากผสมพนธุ์เร็วเท่าใดก็จะให้ลูกได้เร็วเท่านั้น การน ากระบือสาวเข้าฝูงผสมพนธุ์
                                             ิ
               มักดูที่น้ าหนักเป็นเกณฑ์ส าคัญที่พจารณาว่าควรผสมหรือไม่ น้ าหนักที่ควรผสมคือ 260 กิโลกรัมขึ้นไป
                        ี
               อายุเป็นเพยงส่วนประกอบเพราะบางครั้งกระบืออายุได้เกณฑ์แต่น้ าหนักไม่ถึงมาตรฐานเมื่อผสมพนธุ์ไปจะมี
                                                                                                 ั
               ปัญหาในการคลอด และการให้ลูกในครั้งถัด ๆ ไป
                                                                     ั
                           กระบือสาวจะสามารถเติบโตถึงระยะสมบูรณ์พนธุ์ได้เมื่ออายุ 24 เดือน ควรมีน้ าหนักได้
                                           ั
               300 กิโลกรัม และสามารถผสมพนธุ์ได้เมื่ออายุ 18-20 เดือน แม่กระบือจะคลอดลูกตัวแรกเมื่ออายุประมาณ
               30 เดือน หรือ 2 ปีครึ่ง การผสมในระยะเวลาดังกล่าวไม่มีผลต่อการผสมติดหรือการให้ลูกในท้องต่อๆ มา

               แม้ว่ากระบือที่ให้ลูกเร็วเมื่ออายุ 2 ปีครึ่ง จะให้ลูกเมื่อหย่านมมีน้ าหนักน้อยกว่าแม่กระบือที่ให้ลูกตัวแรก
               เมื่ออายุ 3 ปีแต่น้ าหนักต่างกันไม่มากนักเมื่อเทียบที่อายุ 3 ปีเท่ากันแล้ว แม่กระบือตัวแรกย่อมให้ลูกมากกว่า
               และให้ผลตอบแทนดีกว่า

                           ถ้าหากกระบือสาวมีน้ าหนักตัวน้อยเกินไป จะส่งผลกระทบท าให้กระบืออาจจะมีปัญหาในการ
               ผสมติด และการให้น้ านมแก่ลูกกระบือตัวแรก แต่ควรระวังการผสมพันธุ์ที่เร็วเกินไปเพราะกระบือยังต้องมีการ
               เจริญเติบโตทางโครงสร้างของร่างกายไปอีก จึงจ าเป็นต้องดูที่น้ าหนักและสุขภาพกระบือด้วย

























                                                             คู่มือการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ | 33
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45